ความฉลาดทางอารมณ์ของผู้บริหารโรงเรียนกับการบริหารวิชาการของโรงเรียนในสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษานนทบุรี เขต 1 อำเภอเมืองฯ จังหวัดนนทบุรี
คำสำคัญ:
ความฉลาดทางอารมณ์, การบริหารงานวิชาการ, โรงเรียนในสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่ การศึกษาประถมศึกษานนทบุรีบทคัดย่อ
การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา (1) ระดับของความฉลาดทางอารมณ์ของผู้บริหารของโรงเรียนในสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษานนทบุรี เขต 1 อำเภอเมืองจังหวัดนนทบุรี ตามความคิดเห็นของครูผู้สอน (2) ระดับการบริหารงานวิชาการของโรงเรียนในสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษานนทบุรี เขต 1 อำเภอเมือง จังหวัดนนทบุรี ตามความคิดเห็นของครูผู้สอน และ(3)ความสัมพันธ์ระหว่างความฉลาดทางอารมณ์ของผู้บริหารโรงเรียนกับการบริหารวิชาการของโรงเรียนในสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษานนทบุรี เขต 1 อำเภอเมืองฯ จังหวัดนนทบุรี ตามความคิดเห็นของครูผู้สอน กลุ่มตัวอย่างใช้วิธีสุ่มแบบการสุ่มแบบแบ่งชั้นภูมิ(Stratified Random Sampling) จำนวน 297 คน เครื่องมือในการรวบรวมข้อมูลคือ แบบสอบถามชนิดมาตราส่วนประมาณค่า 5 ระดับ สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูลคือ ค่าความถี่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย และค่าความเบี่ยงเบนมาตรฐาน ทดสอบสมมติฐานโดยสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์แบบเพียร์สัน (Pearson Product-Moment Correlation Coefficient)
References
กระทรวงศึกษาธิการ. (2546). พระราชบัญญัติการศึกษาแหงชาติพุทธศักราช 2542 แกไข เพิ่มเติม
(ฉบับที่2) พุทธศักราช 2545. กรุงเทพมหานคร : คุรุสภา.
ชูศรีวงศ์รัตนะ, และคณะ (2545).การวิจัยเพื่อพัฒนาการเรียนรู้.พิมพ์ครั้งที่ 3. กรุงเทพฯ: เมธีทิปส์.
ณัฏฐณิชา เทียมอุทัย. (2559). แนวทางการพัฒนาการบริหารงานวิชาการของโรงเรียนในเครือสารสาสน.
วารสารการบริหารการศึกษา มหาวิทยาลัยศิลปากร ภาควิชาการบริหารการศึกษา คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร, ปีที่ 6 ฉบับที่ 2 (มกราคม – มิถุนายน)
ธัญญารัตน์ ทับทิ ม. (2562). ความฉลาดทางอารมณ์ของผู้บริหารสถานศึกษาและครู สังกัดสํานักงาน
เขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสิงห์บุรี. วิทยานิพนธ์ค.ม. (การบริหาร การศึกษา).ลพบุรี : บัณฑิตวิทยาลัยมหาวิทยาลัยราชภัฏเทพสตรี.
สมฤทัย คุ้มสกุล.(2559). ความฉลาดทางอารมณ์ของผู้บริหารสถานศึกษา สังกัดสํานักงานเขตพื้นที่
การศึกษาประถมศึกษาจันทบุรี เขต 1. วิทยานิพนธ์ ปริญญาศึกษาศาสตร์มหาบัณฑิต สาขาบริหารการศึกษา บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศิลปากร.
โสภา วงษ์นาคเพ็ชร์. (2553). การบริหารงานวิชาการกับประสิทธิผลของสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน สังกัด
สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาสุพรรณบุรี เขต 2 . มหาวิทยาลัยศิลปากร/นครปฐม
อิสริยาภรณ์ ชัยกุหลาบ. (2553). ความฉลาดทางอารมณ์ของผู้บริหารสถานศึกษา สังกัดสํานักงานเขต
พื้นที่การศึกษาเลย เขต 2 และเขต 3.วิทยานิพนธ์ ค.ม. (การบริหารการศึกษา). เลย : บัณฑิต วิทยาลัย มหาวิทยาลัยราชภัฏเลย.
Cronbach, L. J. (1990). Essentials of psychological testing (5th ed.). New York : Harper
Collins Publishers.( pp.202-204)
Goleman, D., Boyatzis, R. and McKee, A. (2002) Primal Leadership: Realizing the Power
of Emotional Intelligence. Harvard Business School Press, Boston.
Lam, L. and Kirby, S. (2002) Is Emotional Intelligence an Advantage? An Exploration of
the Impact of Emotional and General Intelligence on Individual Performance. The Journal of Social Psychology, 142, 133-143. Goleman, D. (2006). Emotional intelligence: Why it can matter more than IQ (10th anniversary ed.).New York: Bantam Books
Goleman, D. (2006). Emotional intelligence: Why it can matter more than IQ (10th anniversary ed.).
New York: Bantam Books
Goleman, D. (2006). Emotional intelligence: Why it can matter more than IQ (10th anniversary ed.).
New York: Bantam Books
Goleman, D. (2006). Emotional intelligence: Why it can matter more than IQ (10th anniversary ed.).
New York: Bantam Books
Mayer J. D., Caruso D. R., Salovey P. (2016). The ability model of emotional intelligence:
Principles and updates. Emotion Review, 8, 290–300.
Downloads
เผยแพร่แล้ว
How to Cite
ฉบับ
บท
License
Copyright (c) 2023 มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย
This work is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International License.
บทความวิชาการและบทความวิจัยในวารสารฉบับนี้ถือเป็นความรับผิดชอบของผู้เขียนเท่านั้น บทความที่ได้รับการตีพิมพ์ในวารสารบัณฑิตศาส์น ถือเป็นลิขสิทธิ์ของมหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย ตามพระราชบัญญัติลิขสิทธิ์