ปัจจัยการอยู่รอด ปัจจัยการอยู่รอดในนวนิยายเรื่อง"วันหนึ่งในชีวิตของ อีวาน เดนิโซวิช" ตามแนวพุทธศาสนสุภาษิต
บทคัดย่อ
นวนิยาย“วันหนึ่งในชีวิตของ อีวาน เดนิโซวิช ”เขียนขึ้นจากบันทึกจากประสบการณ์และเหตุกราณ์ ในค่ายกักกันพิเศษกูลัก (Gulag) ที่สร้างขึ้นเฉพาะนักโทษการเมืองที่อเล็กซานเดอร์ ซอลเจนิตซิน (Aleksandr Isayevich Solzhenitsyn) ต้องโทษการเมืองที่นั่น ด้วยข้อหาต่อต้านรัฐโซเวียต ในสมัยโจเซฟ สตาลิน (Joseph Stalin) เป็นผู้นำ ข้อมูลที่บันทึกแสดงถึงสภาพการเป็นอยู่ที่อดอยาก การใช้แรงงานก่อสร้างท่ามกลางอากาศหนาวเย็นในเขตไซบีเรีย มีกฎเหล็กเป็นบทลงโทษผู้กระทำผิด การแสดงออกของตัวละครในเรื่อง มีส่วนสอดคล้องกับพุทธศาสนสุภาษิต จึงนำมาเสนอเป็นบทความ
References
บรรณานุกรม
พระไตรปิฎกสำหรับประชาชน.(2566).พิมพ์ครั้งที่ 3. พิมพ์เผยแพร่เป็นธรรมทาน. มูลนิธิพระไตรปิฎกเพื่อประชาชน.
สมเด็จพระพุทธโฆษาจารย์ (ป.อ. ปยุตฺโต).(2559). พุทธธรรมฉบับประมวลศัพย์. พิมพ์ครั้งที่ 30. กรุงเทพมหานคร: ผลิธัมม์ในเครือบริษัท สำนักพิมพ์เพ็ทแอนด์โฮม จำกัด.
สมเด็จพระพุทธโฆษาจารย์ (ป.อ. ปยุตฺโต).(2566). อมฤตพจนา พุทธศาสนสุภาษิต พิมพ์ครั้งที่ 37. กรุงเทพมหานคร: บริษัท พิมพ์สวย.
จักรแก้ว ตนุนาถ แปล.(2565). "วันหนึ่งในชีวิตของ อีวาน เดนิโซวิช".พิมพ์ครั้งที่ 4. ปทุมธานี: สำนักพิมพ์นาคร.
ชัยวัฒน์ อัตพัฒน์.(2555).ญาณวิทยา(ทฤษฎีความรู้).พิมพ์ครั้งที่1. สามพราน นครปฐม: สาละพิมพการ.
สุเชาว์ พลอยชุม.(2560).พุทธปรัชญาในสุตตันตปิฎก.พิมพ์ครั้งที่2. สามพราน นครปฐม: สาละพิมพการ.
ประภัสสร วัฒนา. (2560). แนวคิดมนุษย์นิยมของมาสโลว์ (Maslow) และแนวคิดอัตถิภาวนิยมของ
ฌองปอล ชาร์ตร์ (Jean Paul Sartru) ที่ปรากฏในนวนิยายเรื่อง”วันหนึ่งในชีวิตของอีวาน เดนิโซวิช”.ศิลปศาสตร์มหาบัณฑิต.สาขาวิชารัสเซียศึกษา.คณะศิลปศาสตร์มหาบัณฑิต.มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.
แหล่งข้อมูล
https://www.sanook.com/dictionary/dict/dict-th-en-lexitron/search/การอยู่รอด/
https://dict.longdo.com/search/ *อยู่รอด*
วิกิพีเดีย. สารานุกรมเสรี : https://th.wikipedia.org/wiki/ อะเลคซันดร์_โซลเซนิตซิน.
Downloads
เผยแพร่แล้ว
How to Cite
ฉบับ
บท
License
Copyright (c) 2024 มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย
This work is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International License.
บทความวิชาการและบทความวิจัยในวารสารฉบับนี้ถือเป็นความรับผิดชอบของผู้เขียนเท่านั้น บทความที่ได้รับการตีพิมพ์ในวารสารบัณฑิตศาส์น ถือเป็นลิขสิทธิ์ของมหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย ตามพระราชบัญญัติลิขสิทธิ์