แนวทางการจัดการความรู้ในโรงเรียนวัดปรังกาสี สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษากาญจนบุรี เขต 3
คำสำคัญ:
การจัดการความรู้บทคัดย่อ
การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อทราบ 1) การจัดการความรู้ในโรงเรียนวัดปรังกา 2) แนวทางการพัฒนาการจัดการความรู้ในโรงเรียนวัดปรังกาสี กลุ่มตัวอย่าง คือ ผู้อำนวยการโรงเรียน 1 คน รองผู้อำนวยการโรงเรียน 1 คน และครูผู้สอน จำนวน 34 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยเป็นแบบสอบถามเกี่ยวกับการจัดการความรู้ตามแนวคิดของสำนักงานคณะกรรมการพัฒนาระบบราชการ (ก.พ.ร.) ค่าความถี่ ค่าร้อยละ ค่ามัชฌิมเลขคณิต ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน การวิเคราะห์เนื้อหา
ผลการวิจัยพบว่า
- การจัดการความรู้ในโรงเรียนวัดปรังกาสี โดยภาพรวมและรายด้านอยู่ในระดับมาก เรียงลำดับค่ามัชฌิมเลขคณิตจากมากไปน้อย ดังนี้ ด้านการเรียนรู้ ด้านการสร้างและแสวงหา ด้านการบ่งชี้ความรู้ ด้านการจัดการความรู้ให้เป็นระบบ ด้านการแบ่งปันแลกเปลี่ยนความรู้ ด้านการเข้าถึงความรู้ และด้านการประมวลและกลั่นกรองความรู้
- แนวทางการพัฒนาการจัดการความรู้ในโรงเรียนวัดปรังกาสี ควรดำเนินการ ดังนี้ 1) ควรส่งเสริมการมีส่วนร่วมและการตัดสินใจร่วมกันระหว่างบุคลากรในโรงเรียนคณะกรรมการสถานศึกษาและผู้ปกครอง 2) ควรมีการสำรวจความเห็นและความต้องการของบุคลากรในโรงเรียนในด้านความต้องการสร้างและแสวงหาความรู้ในด้านต่าง ๆ 3) ผลักดันให้บุคลากรผู้รับผิดชอบงานในแต่ละฝ่ายร่วมกันจัดทำคู่มือในการปฏิบัติงาน 4) ควรมีการรวบรวมความรู้และทักษะจากประสบการณ์ของบุคลากรในโรงเรียน 5) ควรมีการสำรวจรับฟังปัญหาวิธีการเข้าถึงความรู้ในองค์กร 6) ควรมีการส่งเสริมกิจกรรมต่าง ๆ ให้นำความรู้ที่ได้จากแหล่งเรียนรู้ทั้งในและนอกโรงเรียนมาจัดนิทรรศการให้ความรู้แก่ครูบุคลากรและนักเรียน 7) ควรจัดกิจกรรมสร้างบรรยากาศให้บุคลากรเกิดการเรียนรู้ในโรงเรียน
References
ภาษาไทย
กระทรวงศึกษาธิการ. พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ.2542 และที่แก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ 2) พ.ศ.2545. กรุงเทพฯ: อักษรไทย, 2542.
กิ่งแก้ว ประเทืองผล. "การจัดการความรู้ของโรงเรียนในตำบลสวนผึ้ง จังหวัดราชบุรี." ศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต, มหาวิทยาลัยศิลปากร, 2562.
จิระพงศ์ เรืองกุน. "ชุมชนนักปฏิบัติ : แนวทางการจัดการความรู้เพื่อสร้างความได้เปรียบในการแข่งขัน." วารสารวิชาการมหาวิทยาลัยฟาร์อีสเทอร์น 7 (2557): 16-27.
ณัฐพล สมบูรณ์ และนลินภัสร์ ปรวัฒน์ปรียกร. "ระบบการจัดการความรู้ด้านเทคโนโลยี สารสนเทศ กรณีศึกษา สำนักงานปลัดกระทรวงการคลัง." the 9th National Conference on Computing and Information Technology (NCIT2013), ประเทศไทย, 9-10 พ.ค. 2556, กรุงเทพฯ, 2556.
ธงชัย ศรีกัมพล. "สภาพการจัดการความรู้ในโรงเรียนสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 27 ตามความคิดเห็นของผู้บริหารโรงเรียนและครูผู้สอน." วิทยานิพนธ์ ปริญญาครุศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการบริหารการศึกษา มหาวิทยาลัยราชภัฏร้อยเอ็ด, 2557.
ธีระ รุณเจริญ. ความเป็นมืออาชีพในการจัดและบริหารการศึกษา ยุคปฏิรูปการศึกษา (ฉบับปรับปรุง) เพื่อปฏิรูปรอบ 2 และประเมินภายนอกรอบ 3. พิมพ์ครั้งที่ 7 ed. กรุงเทพฯ: ข้าวฟ่าง, 2555.
นฤมล สายะบุตร และ ประกอบ คุณารักษ์. "รูปแบบการจัดการความรู้สู่การเป็นองค์กรแห่งการเรียนรู้ในโรงเรียนสังกัดมูลนิธิแห่งสภาคริสตจักรในประเทศไทย." วารสารวิชาการมหาวิทยาลัยอีสเทิร์นเอเชีย 4, no. 1 (2557): 17-22.
นลวัชร์ ขุนลา และ เกษราภรณ์ สุตตาพงศ์. "การจัดการความรู้สู่การสร้างองค์กรที่ประสบความสำเร็จ." วารสารนักบริหาร 35, no. 1 (2558): 133-141.
พจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. ๒๕๔๒. นานมีบุ๊คส์พับลิเคชั่นส์ จำกัด, 2542.
พรพิมล หรรษาภิรมย์โชค. "สภาพการจัดการความรู้ของโรงเรียนสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาในเขตภูมิภาคตะวันตก." วิทยานิพนธ์มหาบัณฑิต สาขาวิชาบริหารการศึกษา มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์, 2555.
โรงเรียนวัดปรังกาสี. รายงานผลการดำเนินกิจกรรมข้อมูลสารสนเทศในโครงการระบบประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา ปีการศึกษา 2563. "ม.ป.ท., 2563.
วิจารณ์ พานิช. ขอบฟ้าใหม่ในการจัดการความรู้. กรุงเทพฯ: มูลนิธิสถาบันส่งเสริมการจัดการความรู้เพื่อสังคม, 2559.
———. วิถีสร้างการเรียนรู้เพื่อศิษย์ในศตวรรษที่ 21. กรุงเทพฯ: มูลนิธิสดศรี-สฤษดิ์วงศ์, 2555.
"การจัดการความรู้ (Knowledge Management)." 2563, accessed 1 มีนาคม, 2565, "สืบค้นจาก" http://hsmi2.psu.ac.th/upload/forum/Phd_ Wiphada_slide.pdf.
ศิรินันต์ เพชรแอน. "การจัดการความรู้ในโรงเรียนวัดสามง่าม (คงทองอนุสรณ์)." วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต, มหาวิทยาลัยศิลปากร, 2557.
ศุภวิทย์ ภาษิตและนิรันดร์ ญาณี โชคสมงาม. Km Knowledge Management. Vol. 2564, กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์วิช (ในเครือบริษัท วิช กรุ๊ป (ไทยแลนด์) จำกัด), 2564.
สมชาย นำประเสริฐชัย. การจัดการความรู้. กรุงเทพฯ: ซีเอ็ดยูเคชั่น, 2558.
สำนักงานคณะกรรมการพัฒนาระบบราชการ (ก.พ.ร.). การจัดการความรู้ Knowledge Management (ปรับปรุงใหม่), โครงการพัฒนานวัตกรรมการเรียนรู้ ชุดเครื่องมือเรียนรู้ด้วยตนเอง Edited by พิมพ์ครั้งที่ 3. กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์คณะรัฐมนตรีและราชกิจจานุเบกษา, 2552.
———. การจัดการความรู้ Knowledge Management (ปรับปรุงใหม่), โครงการพัฒนานวัตกรรมการเรียนรู้ ชุดเครื่องมือเรียนรู้ด้วยตนเอง. กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์คณะรัฐมนตรีและราชกิจจานุเบกษา, 2552.
———. การจัดการความรู้ Knowledge Management (ปรับปรุงใหม่),โครงการพัฒนานวัตกรรมการเรียนรู้ ชุดเครื่องมือเรียนรู้ด้วยตนเอง กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์คณะรัฐมนตรีและราชกิจจานุเบกษา, 2552.
สำนักงานเลขาธิการสภาการศึกษา. คู่มือเรียนรู้งานตลาดนัดการจัดการความรู้ระดับชาติ ครั้งที่ 2 การจัดการความรู้สู่การพัฒนาคุณภาพผู้เรียนที่ยั่งยืน. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์และทำปกเจริญผล, 2553.
สุประภาดา โชติมณี. จัดการความรู้อย่างไรให้ใช้ได้ผลกับทุกระบบ. กรุงเทพฯ: พงษ์วรินทร์การพิมพ์ จำกัด, 2554.
อทิต พลจันทึก. "การจัดการความรู้ที่ส่งผลต่อประสิทธิผลด้านการศึกษาของกรมยุทธศึกษาทหารอากาศ." วิทยานิพนธ์สาขาเทคโนโลยีการบริหารการศึกษา คณะครุศาสตร์อุตสาหกรรม มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี, 2556.
ไอลดา สุขสี. "แนวทางการจัดการความรู้ในโรงเรียนป่าไม้อุทิศ 15 (บ้านม่วงเฒ่า)." สารนิพนธ์ศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการบริหารการศึกษา, มหาวิทยาลัยศิลปากร, 2563.
ภาษาอังกฤษ
Davenport, Thomas H., and Others. Successful Knowledge Management Project. Vol. 1998, “n.p.”: Winter, 1998.
Fred C. Lunenburg and Allan C. Ornstein. Educational Administration : Concepts and Practices, 7th Ed. California SAGE Publications, 2020.
"Benefits of an Intranet-Based Knowledge Management System-Measuring the Effects." accessed March 10, 2022, available from
http://www.avinci.de/competence/publikationen/ diplomarbeit_holger_trapp.pdf.
John W. Best. Research in Education. 4th Ed. Englewood cliffs: Prentice Hall, 1981.
Marquardt, Michael J, and Angus Reynolds. The Global Learning Organization. Burr Ridge: Irwing, 1994.
"What Are the Best Four Components of Knowledge Management?", 2019, accessed March 25, 2022, available from https://www.apqc.org/blog/what-are-best-four-components-knowledge-management.
Rensis Likert. The Human Organization. New York: McGraw – Hill, 1963.
"Key Sections of the Knowledge Organization Model." accessed March 20, 2022, available from http:/ / www.accesskm.com/ Resources/S_Articles/km.htm.
"Wildknowledge Management Research and End User Work Environment 2010." 2010, accessed March 10, 2022, available from http://forge.fh-potsdam.de.
Downloads
เผยแพร่แล้ว
How to Cite
ฉบับ
บท
License
Copyright (c) 2024 มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย
This work is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International License.
บทความวิชาการและบทความวิจัยในวารสารฉบับนี้ถือเป็นความรับผิดชอบของผู้เขียนเท่านั้น บทความที่ได้รับการตีพิมพ์ในวารสารบัณฑิตศาส์น ถือเป็นลิขสิทธิ์ของมหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย ตามพระราชบัญญัติลิขสิทธิ์