ห้องสมุดมิชชันเชียงใหม่ ห้องสมุดชุมชนแห่งแรกของล้านนา

Main Article Content

วรรณภา ปะวิโน

บทคัดย่อ

บทความวิชาการเรื่องห้องสมุดมิชชันเชียงใหม่ ห้องสมุดชุมชนแห่งแรกของล้านนา มีวัตถุประสงค์การเขียนบทความเพื่อศึกษาบริบทเกี่ยวกับความเป็นมาในการเผยแผ่คริสต์ศาสนานิกายโปรแตสแตนท์ของคณะมิชชันนารีอเมริกันเพรสไบทีเรียน ที่มีผลต่อการจัดการศึกษาในพื้นที่จังหวัดเชียงใหม่ นอกจากนี้เนื้อหาในบทความยังอธิบายถึงประวัติความเป็นมาและวัตถุประสงค์ในการจัดสร้างห้องสมุดชุมชน หรือ ห้องสมุดมิชชันเชียงใหม่ (Chiang Mai Mission Library หรือ Chiengmai Community Library) ซึ่งถือเป็นห้องสมุดชุมชนแห่งแรกของล้านนา

Article Details

บท
บทความวิชาการ

References

กฤติยา วัฒนกีบุตร. การจัดการพิพิธภัณฑ์บ้านแฮรีส โรงเรียนปรินส์รอยแยลส์วิทยาลัย. วิทยานิพนธ์ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต (การจัดการศิลปะและวัฒนธรรม). เชียงใหม่: บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่, ๒๕๖๒. ฉบับอัดสำเนา.

กำพล เลาหเพ็ญแสง. ห้องสมุดเชียงใหม่. [ออนไลน์]. สืบค้นเมื่อ ๑๐ มีนาคม ๒๕๖๖, จาก: https://www.facebook.com/photo.php?fbid=3435484319799648&set=p.3435484319799648&type=3

โกสเต, โรแบต์. ประวัติการเผยแพร่คริสต์ศาสนาในสยามและลาว. แปลโดย อรสา ชาวจีน. กรุงเทพฯ: สื่อมวลชนคาทอลิกประเทศไทย, ๒๕๔๙.

คณะทายาท สายสกุล ณ เชียงใหม่ และสำนักงานส่งเสริมศิลปวัฒนธรรม มหาวิทยาลัยเชียงใหม่. เจ้าหลวงเชียงใหม่. กรุงเทพฯ: อมรินทร์พริ้นติ้ง, ๒๕๓๙.

คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่. โบสถ์คริสตจักรที่ ๑ เชียงใหม่. [ออนไลน์]. สืบค้นเมื่อ ๑๒ เมษายน ๒๕๖๖, จาก: https://www.facebook.com/photo/?fbid=126985880313522&set=pcb.126990676979709

จันทร์จิรา วงษ์ขมทอง และคนอื่นๆ. “คริสเตียนกับการศึกษาไทย.” วารสารมหาวิทยาลัยคริสเตียน. ๑๙, ๑ (มกราคม - เมษายน ๒๕๕๖): ๒๑๑ - ๒๒๕.

ธเนศวร์ เจริญเมือง. ปรินส์รอยฯ ๑๓๑ ปี (พ.ศ.๒๔๓๐-๒๕๖๑) การศึกษา, เชียงใหม่, ล้านนา และรัฐไทย. เชียงใหม่: เชียงใหม่โรงพิมพ์แสงศิลป์, ๒๕๖๑.

เนื้ออ่อน ขรัวทองเขียว. เปิดแผนยึดล้านนา. พิมพ์ครั้งที่ ๒. กรุงเทพฯ: มติชน, ๒๕๖๐.

พิทยาวัฒน์ พิทยาภรณ์. สัพะพะจะนะพาสาไทออนไลน์. [ออนไลน์]. สืบค้นเมื่อ ๑๒ เมษายน ๒๕๖๖, จาก: https://www.arts.chula.ac.th/chulaseal/dlto

ภาพเก่าเล่าเรื่อง : โรงพยาบาลเซ็นต์หลุยส์. [ออนไลน์]. สืบค้นเมื่อ ๑๐ เมษายน ๒๕๖๖, จาก: https://pantip.com/topic/30260384

โรงเรียนดาราวิทยาลัย. ประวัติโรงเรียนดาราวิทยาลัย. [ออนไลน์]. สืบค้นเมื่อ ๒ มีนาคม ๒๕๖๖, จาก: https://sites.google.com/web1.dara.ac.th/dara2020/เกี่ยวกับโรงเรียน/ประวัติโรงเรียน

โรงเรียนปรินส์รอยแยลส์วิทยาลัย. ตามรอย ๑๒๐ ปี P.R.C.. เชียงใหม่: เชียงใหม่โรงพิมพ์แสงศิลป์, ๒๕๔๙.

โรงเรียนปรินส์รอยแยลส์วิทยาลัย. ผู้จัดการ อาจารย์ใหญ่ ผู้อำนวยการ. [ออนไลน์]. สืบค้นเมื่อ ๑๒ เมษายน ๒๕๖๖, จาก: https://www.prc.ac.th/about-us/director-history/

วรรณภา ปะวิโน. “โรงพิมพ์ยุคแรกของล้านนา.” วารสารวิชาการหอสมุดแห่งชาติ. ๙, ๑ (มกราคม - มิถุนายน ๒๕๖๔): ๖๓.

วิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี. ฌ็อง-บาติสต์ ปาลกัว. [ออนไลน์]. สืบค้นเมื่อ ๒๒ มีนาคม ๒๕๖๖, จาก: https://th.wikipedia.org/wiki/ฌ็อง-บาติสต์ ปาลกัว

วิลเลียม แฮรีส. ฉันพร้อมที่จะเดินฝ่ากำแพงหิน. แปลโดย หมวก ไชยลังการณ์. เชียงใหม่: ปรินส์รอยแยลส์วิทยาลัย, ๒๕๔๙.

สถานทูตสหรัฐฯ และสถานกงสุลในประเทศไทย. มิตรภาพสหรัฐฯ-ไทยด้านการศึกษาและวัฒนธรรม. [ออนไลน์]. สืบค้นเมื่อ ๑๐ เมษายน ๒๕๖๖, จาก: https://th.usembassy.gov/th/embassy-consulate-th/chiang-mai-th/history-th/then-now-th/u-s-thai-friendship-in-education-culture-th/

สมศรี บุญอรุณรักษา. พระสังฆราชปัลเลอกัวซ์ : มิตรที่ดี สนิทสนม และจริงใจ ในรัชกาลที่ ๔. กรุงเทพฯ: สื่อมวลชนคาทอลิกประเทศไทย, ๒๕๕๐.

อริศา เลิศพฤกษ์. คริสเตียนที่ร่วมในวันเปิดอาคารคริสตจักรแม่ปูคา. [ออนไลน์]. สืบค้นเมื่อ ๑๑ เมษายน ๒๕๖๖, จาก: https://www.facebook.com/photo/?fbid=833684417993235 &set=a.755584925803185

อริศา เลิศพฤกษ์. ห้องสมุดเชียงใหม่. [ออนไลน์]. สืบค้นเมื่อ ๑๐ มีนาคม ๒๕๖๖, จาก: https://www.facebook.com/photo?fbid=1357724557959276&set=a.762971640767907

“Chiengmai Community Library.” Laos News. 9, 3 (July 1912): 84-85.

Daniel McGilvary. A half century among the Siamese and the Lao : an autobiography. New York: Fleming H. Revell Company, 1912.

McFarland, George Bradley. Historical skethch of protestant mission in Siam 1828-1928. Bangkok: The Bangkok Times Press, 1928.