การรู้เท่าทันความคิดตามหลักสติปัฏฐาน 4 : เพื่อก้าวผ่านยุค New Normal ไปสู่วิถีในยุคต่อไป

Main Article Content

กนกวรรณ ปรีดิ์เปรม

บทคัดย่อ

บทความนี้ มุ่งสะท้อนให้เห็นถึงสถานการณ์การแพร่ระบาดและการกลายพันธุ์ของเชื้อไวรัส (COVID-19) ที่มีมาเนิ่นนาน จนทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลงหลายอย่างที่อยู่รอบตัว คล้ายกับสิ่งเดิมที่เคยถูกมองว่าปกติดูเหมือนจะไม่ปกติ ความไม่คุ้นชินทั้งหลายเหล่านี้ยังสร้างความวิตกกังวลใจ จนบางครั้งทำให้ขาดสติไม่ทันความคิดของตนเองเป็นเหตุให้เกิดปัญหาตามมา ผู้เขียนจึงอยากชี้ให้เห็นว่า ความสำคัญของการมีสติในการรู้เท่าทันความคิดนั้น มีความสำคัญมากนอกจากจะช่วยแก้ปัญหาที่ต้นเหตุแล้ว และยังยับยั้งปัญหาใหม่ไม่ให้เกิดขึ้นอีก พร้อมทั้งสามารถสร้างความสุขให้เกิดขึ้นได้เป็นอย่างดี พระพุทธองค์ได้สรุปรวมวิธีสร้างสติการรู้เท่าทันความคิดไว้เป็นสูตรสำเร็จที่สมบูรณ์ กระทัดรัด ประยุกต์ใช้ได้ในทุกขณะจิต ทั้งเวลาที่กำลังปฏิบัติธรรม ตลอดถึงใช้ได้กับชีวิตประจำวัน ให้เกิดสติคอยสอดส่องชีวิตของตนเอง ให้เห็นความคิด เห็นจิตใจของตนเอง ซึ่งรวมเรียกว่า สติปัฏฐาน 4 ด้วยการผูกสติลงที่ กาย และ จิต ของตนเอง รวมไปถึงความรู้สึก (เวทนา) และ อารมณ์ (ธรรม)ที่เกิดขึ้นในตน

Article Details

บท
บทความวิชาการ

References

กรมสุขภาพจิต. (2564). กรมสุขภาพจิต แนะสังคมไทยพัฒนาจิตใจ ด้วย “วินัย -สุขนิสัย ” ป้องภัยโควิด 19. ค้นเมื่อ 10 กรกฎาคม 2564, จาก https://www.dmh.go.th/covid19/news2/view.asp?id=32

พระธรรมปิฏก (ป.อ.ปยุตฺโต). (2553). พุทธธรรมฉบับปรับขยาย. พิมพ์ครั้งที่ 82. กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์ผลิธัมม์.

พระโสภณมหาเถระ (มหาสีสยาดอ). (2549). มหาสติปัฏฐานสูตร ทางสู่พระนิพพาน.กรุงเทพฯ: ไทยรายวันการพิมพ์.

พิทักษ์ สุพรรโณภาพ. (2561). การคิดเชิงบวก: ตัวแปรในการพัฒนาชีวิต. Veridian E-Journal, Silpakorn University, 11 (3), 1958-1978.

พิมพิลัย หงษาคำ. (2564). รู้และเข้าใจวิธีปฏิบัติและประโยชน์ของการบริหารจิตและเจริญปัญญา. ค้นเมื่อ 3 กันยายน 2564, จาก https://sites.google.com/site/fon5481136057/s/5-1

โพสต์ทูเดย์. (2564). โควิดทำคนไทยเครียดหนัก! ผลโพลชี้จิตใจย่ำแย่-ท้อถอยเกินจะรับมือได้". ค้นเมื่อ 31 เมษายน 2564, จาก https://www.posttoday.com/social/general/654196

สยมพร ศิรินาวิน. (2563). “โควิด-19” ความรู้ สู่ปัญญา พัฒนาการปฏิบัติ. กรุงเทพฯ: บริษัท โอ.เอส.พริ้นติ้ง เฮ้าส์ จำกัด.

เอื้อจิต วิโรจน์ไตรรัตน์. (2540). การวิเคราะห์ระดับมีเดียลิตเตอเรซีของนักศึกษาระดับอุดมศึกษาในประเทศไทย (วิทยานิพนธ์ปริญญาดุษฎีบัณฑิต). จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

Biz in Thai. การบริหารความคิด (Thinking Management). ค้นเมื่อ 3 กันยายน 2564 , จาก https://www.bizinthai.com

tuemaster.com. (2019). ฝึกสติในขณะปัจจุบัน. ค้นเมื่อ 20 สิงหาคม 2564, จาก https://tuemaster.com/ blog/ฝึกสติในขณะปัจจุบัน

Hobbs, R. and Moore, D. C. (2013). Discovering media literacy : teaching digital media and popular culture in elementary school. California: SAGE Publications.