การส่งเสริมคุณภาพชีวิตจากการประกอบอาชีพภายหลังการพ้นโทษ

Main Article Content

ธันย์ชนน ศรีอัษฎาวุธกุล
ชาญเดช เจริญวิริยะกุล
อัครมณี สมใจ
วรรณนัฎฐา ขนิษฐบุตร
ศักดิ์สิทธิ์ พรรัตนศรีกุล

บทคัดย่อ

การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา 1) การส่งเสริมเกษตรธรรมชาตินำไปประกอบอาชีพภายหลังการ
พ้นโทษ 2) การเพิ่มรายได้ด้วยประกอบอาชีพภายหลังการพ้นโทษ และ 3) การส่งเสริมคุณภาพชีวิตจากการประกอบอาชีพภายหลังการพ้นโทษ การวิจัยนี้ใช้ระเบียบวิธีการวิจัยเชิงปริมาณ เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูล
คือ แบบสอบถาม กลุ่มประชากรตัวอย่างคือประชาชนที่อาศัยในกรุงเทพมหานคร จำนวน 400 คน สูตรที่ใช้ทาโร่
ยามาเน่ สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล โดยใช้สถิติเชิงพรรณนา ได้แก่ ค่าเฉลี่ย และส่วนเบี่ยงเบนมาตรผลการวิจัยพบว่า 1) การส่งเสริมเกษตรธรรมชาตินำไปประกอบอาชีพภายหลังการพ้นโทษ อยู่ในระดับมากที่สุด 2) การเพิ่มรายได้ด้วยประกอบอาชีพภายหลังการพ้นโทษ อยู่ในระดับมากที่สุด และ (3) การส่งเสริมคุณภาพชีวิตจากการประกอบอาชีพภายหลังการพ้นโทษ อยู่ในระดับมากที่สุดลาว

Article Details

บท
บทความวิจัย

References

ข่าวพะเยา. (2019). การสร้างงาน สร้างอาชีพ สร้างรายได้ผู้ต้องขัง. ค้นเมื่อ 22 ตุลาคม 2564, จาก https://www.khawphayao.com/archives/374

ธวัช เบญจาทิกุล. (2563). กระทรวงแรงงานวางเส้นทางเสริมทักษะให้แก่ผู้ต้องขัง. ค้นเมื่อ 16 มกราคม 2565, จาก https://www.thaigov.go.th/news/contents/details/35721

นฤมล ภิญโญสินวัฒน์. (2563). กระทรวงแรงงานวางเส้นทางเสริมทักษะให้แก่ผู้ต้องขัง. ค้นเมื่อ 20 มกราคม 2565, จาก https://www.thaigov.go.th/news/contents/details/35721

นิศา ศิลารัตน์ และวาสิตา บุญสาธร. 2562. ปัจจัยและประโยชน์ในการรับผู้พ้นโทษเข้าทำงานในองค์กร. วารสารการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์และองค์การ, 11(2), 90 – 115.

พรประภา แกล้วกล้า และคณะ. (2558). การพัฒนาคุณภาพการแก้ไขฟื้นฟูผู้กระทำผิดด้วยระบบการดูแลต่อเนื่อง และการส่งต่อข้อมูลจากสถานที่ควบคุมตัวสู่มาตรการคุมประพฤติ และการสงเคราะห์ภายหลังปล่อย (รายงานวิจัย). กรมคุมประพฤติ กระทรวงยุติธรรม.

รัฐศาสตร์ อำมาตย์ไทย. (2561). การปฏิบัติงานด้านการพัฒนาคุณภาพชีวิตผู้ต้องขังในเรือนจำ: กรณีศึกษา เรือนจำกลางสมุทรปราการ. ค้นเมื่อ 15 เมษายน 2564, จาก http://www3.ru.ac.th/mpaabstract/files/2561 _1566379007_601832071.pdf

วสันต์พรรษ จำเริญนุสิต. (2561). เรือนจำจังหวัดตรังฝึกอาชีพการเกษตรให้ผู้ต้องขังชั้นดี เพื่อใช้ประกอบอาชีพหลังพ้นโทษ. สำนักข่าวกรมประชาสัมพันธ์จังหวัดตรัง. ค้นเมื่อ 11 กุมภาพันธ์ 2565, จาก https://thainews.prd.go.th/th/news/detail/WNSOC6111190010035

ศักดินา แก่นแก้ว และมูฮัมหมัดอิลยาส หญ้าปรัง. (2561). การฝึกวิชาชีพของผู้ต้องขังชาย : กรณีศึกษา เรือนจำกลางปัตตานี หมู่ที่ 8 ตำบลบานา อำเภอเมือง จังหวัดปัตตานี. ค้นเมื่อ 15 เมษายน 2564, จากhttp://www.islocal.ru.ac.th/images/ispdf/is59/5924884501.pdf

ศาลาว่าการกรุงเทพฯ 1 กองยุทธศาสตร์บริหารจัดการ. (2562). สถิติด้านสังคม. ค้นเมื่อ 13 กุมภาพันธ์ 2565, จาก http://www.bangkok.go.th/pipd/page/sub/18654

สมรมน ช้วนปรีชา และพิศมัย จารุจิตติพันธ์. (2559). ปัจจัยที่ส่งผลต่อคุณภาพชีวิตของผู้ต้องขังสูงอายุในเรือนจำ และทัณฑสถานเขต กรุงเทพมหานคร. วารสารเกษมบัณฑิต, 17(1), 110 – 26.

Best, J. W., & Kahn, J. V. (1993). Research in education. Boston: Allyn and Bacon.

Dawes, J. (2009). Ageing Prisoners: Issues for Social Work. Australian Issues for Social Work,62(2), 258-271.

Fazel, S.; Grann, M. (2002). Older Criminals: A Descriptive Study of Psychiatrically Examined Offenders in Sweden. International Journal of Geriatric Psychiatry, 17(2),907-913.

Flynn, E.E. (2000). Elders as Perpetrators. In: Rothman, M.B.; Dunlop, B.D.; Entzel P. (Eds.), Elders Crime and the Criminal Justice System: Myths, Perceptions and Reality in the 21st Century. New York: Springer.

Gal, M. (2002). The Physical and Mental Health of Older Offenders. Forum on Corrections Research, 14(2), 1-6.

Grant, A. (1999). Elderly Inmates: Issues for Australia: Trends and issues in Crime and Criminal Justice. Australia Institute of Corrections. Retrieved July 24, 2015, from http://aic.gov.au

Johnson, E.H. (2000). Elders and Japanese Corrections. In: Rothman M.B.; Dunlop, B.D.& Entzen P. (Eds.), Elders, Crime, and the Criminal Justice System. New York: Springer.

Mohamad, et al. (2014). Kualiti Hidup Pendekatan Maqasid Syariah. Terengganu: Penerbit UniSZA.

Norliza, C., Norni, A., Anandjit, S., & Mohd, F. M. (2014). A review of substance abuse research in malaysia. The Medical Journal of Malaysia, 69, 55-58.

Steiner, E. (2003). Early Release of Serious and Old Prisoners: Should French Practice be Followed?. Probation Journal, 50(3), 267–273.

Uysal, M., & Sirgy, M. J. (2019). Quality-of-life indicators as performance measures. Annals of Tourism Research, 76, 291-300.

Wajdi, D. A & Dianawati, I. (2007). Maqasid al-Syariah, Maslahah and Corporate Social Responsibility. The American Journal of Islamic Social Science, 24(1), 25-45.

Yamane, T. (1973).Statistics:An Introductory Analysis (3rd ed.).New York: Harper and Row. Publications.