Thai society’s attitude towards migrant workers: critical literature review in policy and academic research on migrant health

บทสำรวจทัศนะท่าทีสังคมไทยต่อแรงงานข้ามชาติผ่านพัฒนาการนโยบายและงานวิชาการด้านสุขภาพแรงงานข้ามชาติ

Authors

  • Cholnapa Anukul Foundation of Just Society Network
  • Sayamol Charoenratana Human Security and Equity Research Unit, Social Research, Chulalongkorn University

Keywords:

แรงงานข้ามชาติ, พัฒนาการทางกฎหมาย, งานวิชาการ, ทัศนคติ, วรรณกรรมปริทัศน์

Abstract

หลายทศวรรษแห่งการพัฒนาที่ผ่านมา การนำเข้าแรงงานข้ามชาติเป็นส่วนหนึ่งของนโยบายจัดการแรงงานในประเทศไทย เนื่องจากการเปลี่ยนแปลงโครงสร้างประชากรสู่สังคมสูงวัยซึ่งนำไปสู่การขาดแคลนประชากรแรงงานในระยะยาว อย่างไรก็ดี ความต้องการแรงงานข้ามชาติเนื่องจากความจำเป็นในการพัฒนาเศรษฐกิจดูสวนทางและแปลกแยกกับการพัฒนาสังคมไทย แรงงานข้ามชาติในประเทศไทยจึงประสบปัญหาคุณภาพชีวิตทั้งทางด้านการศึกษา สุขภาพ และความเป็นอยู่ สะท้อนให้เห็นความท้าทายของแนวทางการพัฒนาที่ยั่งยืนที่จะไม่ทอดทิ้งใครไว้ข้างหลัง บทความนี้จึงมุ่งสำรวจทัศนะท่าทีของสังคมไทยต่อแรงงานข้ามชาติผ่านการปริทัศน์วรรณกรรมทางกฎหมายและงานวิชาการด้านสุขภาพแรงงานข้ามชาติในประเทศไทย พบว่า (หนึ่ง) แผนพัฒนาระดับชาติไม่ปรากฏประเด็นแรงงานข้ามชาติ นโยบายด้านสวัสดิการมีลักษณะกีดกันแรงงานข้ามชาติออกไป และนโยบายด้านความมั่นคงกีดกันแรงงานข้ามชาติออกจากความเป็นพลเมือง (สอง) ข้อเสนอเชิงนโยบายบนพื้นฐานงานวิจัยและวิชาการด้านสุขภาพแรงงานข้ามชาติมีทิศทางมุ่งบูรณาการแรงงานข้ามชาติผ่านมิติสวัสดิการมากกว่ามิติความเป็นพลเมือง ซึ่งอย่างหลังเป็นสาเหตุหลักแห่งภาวะความเปราะบางของแรงงานข้ามชาติที่มีฐานะต่างด้าวอย่างถาวร

References

Arphattananon, T. (2022). Education of Migrant Children from Myanmar in Thai Government Schools. Manusya: Journal of Humanities, 24(3), 409–425. https://doi.org/10.1163/26659077-24030008

iggs, D., Abel, N., Knight, A. T., Leitch, A., Langston, A., & Ban, N. C. (2011). The implementation crisis in conservation planning: Could “mental models” help? Conservation Letters, 4(3), 169–183. https://doi.org/10.1111/j.1755-263X.2011.00170.x

Arphattananon, T. (2022). Education of Migrant Children from Myanmar in Thai Government Schools. Manusya: Journal of Humanities, 24(3), 409–425. https://doi.org/10.1163/26659077-24030008

Biggs, D., Abel, N., Knight, A. T., Leitch, A., Langston, A., & Ban, N. C. (2011). The implementation crisis in conservation planning: Could “mental models” help? Conservation Letters, 4(3), 169–183. https://doi.org/10.1111/j.1755-263X.2011.00170.x

Bostrom, A., O’Connor, R. E., Böhm, G., Hanss, D., Bodi, O., Ekström, F., … Sælensminde, I. (2012). Causal thinking and support for climate change policies: International survey findings. Global Environmental Change, 22(1), 210–222. https://doi.org/10.1016/j.gloenvcha.2011.09.012

Dias, S., Gama, A., Cargaleiro, H., & Martins, M. O. (2012). Health workers’ attitudes toward immigrant patients: A cross-sectional survey in primary health care services. Human Resources for Health, 10(1), 14. https://doi.org/10.1186/1478-4491-10-14

Goldberg, M. H., Gustafson, A., & van der Linden, S. (2020). Leveraging Social Science to Generate Lasting Engagement with Climate Change Solutions. One Earth, 3(3), 314–324. https://doi.org/10.1016/j.oneear.2020.08.011

Güss, C. D., & Robinson, B. (2014). Predicted causality in decision making: The role of culture. Frontiers in Psychology, 5. Retrieved from https://www.frontiersin.org/articles/10.3389/fpsyg.2014.00479

ILO. (2022). Home truths: Access to adequate housing for migrant workers in the ASEAN region [Report]. Retrieved from http://www.ilo.org/asia/publications/WCMS_838972/lang--en/index.htm

IOM. (2020). Recruitment fees and related costs: What migrant workers from Cambodia, the Lao People’s Democratic Republic, and Myanmar pay to work in Thailand. Retrieved from http://www.ilo.org/asia/publications/WCMS_740400/lang--en/index.htm

Kunpeuk, W., Julchoo, S., Phaiyarom, M., Sinam, P., Pudpong, N., Loganathan, T., … Suphanchaimat, R. (2022). Access to Healthcare and Social Protection among Migrant Workers in Thailand before and during COVID-19 Era: A Qualitative Study. International Journal of Environmental Research and Public Health, 19(5), 3083. https://doi.org/10.3390/ijerph19053083

Kunpeuk, W., Teekasap, P., Kosiyaporn, H., Julchoo, S., Phaiyarom, M., Sinam, P., … Suphanchaimat, R. (2020). Understanding the Problem of Access to Public Health Insurance Schemes among Cross-Border Migrants in Thailand through Systems Thinking. International Journal of Environmental Research and Public Health, 17(14), 5113. https://doi.org/10.3390/ijerph17145113

Kusakabe, K., Khuenta, K., Hemsakul, T., & n, V. (2018). Building a home away from home: Housing choices of labor migrants in Thailand. Migration and Development, 8, 1–16. https://doi.org/10.1080/21632324.2018.1498255

Martin, P. (2007). The economic contribution of migrant workers to Thailand: Towards policy development. 48.

McAuliffe, M., Khadria, B., & Bauloz, C. (2019). World migration report 2020. Geneva: IOM.

Nawarat, N. (2012). Thailand Education Policy for Migrant Children from Burma. Procedia - Social and Behavioral Sciences, 47, 956–961. https://doi.org/10.1016/j.sbspro.2012.06.763

Piancharoen, P., Kosiyaporn, H., & Suphanchaimat, R. (2021). Equity of Social Health Insurance Coverage for Migrants in Thailand: A Concentration Index Analysis. International Journal of Environmental Research and Public Health, 19(1), 64. https://doi.org/10.3390/ijerph19010064

Pocock, N. S., Chan, Z., Loganathan, T., Suphanchaimat, R., Kosiyaporn, H., Allotey, P., … Tan, D. (2020). Moving towards culturally competent health systems for migrants? Applying systems thinking in a qualitative study in Malaysia and Thailand. PLOS ONE, 15(4), e0231154. https://doi.org/10.1371/journal.pone.0231154

Schierup, C.-U., Hansen, P., & Castles, S. (2006). Migration, Citizenship, and the European Welfare State: A European Dilemma. In Migration, Citizenship, and the European Welfare State: A European Dilemma. https://doi.org/10.1093/0198280521.001.0001

Suphanchaimat, R. (2017). “Health Insurance Card Scheme” for cross-border migrants in Thailand: Responses in policy implementation & outcome evaluation. (Doctoral, London School of Hygiene & Tropical Medicine). London School of Hygiene & Tropical Medicine. https://doi.org/10.17037/PUBS.03817560

Suphanchaimat, Rapeepong, Kantamaturapoj, K., Putthasri, W., & Prakongsai, P. (2015). Challenges in the provision of healthcare services for migrants: A systematic review through providers’ lens. BMC Health Services Research, 15(1), 390. https://doi.org/10.1186/s12913-015-1065-z

Szyszka, M. (2017). The Effects of International Economic Migration on the Family as seen by Lithuanian and Polish Students. Socialinis Ugdymas, 45, 44–61. https://doi.org/10.15823/su.2017.4

Tschirhart, N., Jiraporncharoen, W., Thongkhamcharoen, R., Yoonut, K., Ottersen, T., & Angkurawaranon, C. (2021). Including undocumented migrants in universal health coverage: A maternal health case study from the Thailand-Myanmar border. BMC Health Services Research, 21, 1315. https://doi.org/10.1186/s12913-021-07325-z

Tuangratananon, T., Suphanchaimat, R., Julchoo, S., Sinam, P., & Putthasri, W. (2019). Education Policy for Migrant Children in Thailand and How It Really Happens; A Case Study of Ranong Province, Thailand. International Journal of Environmental Research and Public Health, 16(3), 430. https://doi.org/10.3390/ijerph16030430

Tunon, M., & Baruah, N. (2012). Public attitudes towards migrant workers in Asia. Migration and Development, 1, 149–162. https://doi.org/10.1080/21632324.2012.718524

UN Women & ILO. (2019). Public attitudes towards migrant workers in Japan, Malaysia, Singapore and Thailand. ILO. Retrieved from http://www.ilo.org/asia/publications/WCMS_732443/lang--en/index.htm

UNDESA. (2017). World Population Prospects: The 2017 Revision, Key Findings and Advance Tables [Working Paper No. ESA/P/WP/248].

Vasuprasat, P. (2008). Inter-state cooperation on labour migration: Lessons learned from MOUs between Thailand and neighbouring countries [Working paper]. Retrieved from http://www.ilo.org/asia/publications/WCMS_106181/lang--en/index.htm

กฤตยา อาชวนิจกุล. (2540). บทสังเคราะห์สถานการณ์คนข้ามชาติและทางเลือกนโยบายการนำเข้าแรงงานข้ามชาติของประเทศไทย (p. 63). นครปฐม: สถาบันวิจัยประชากรและสังคม มหาวิทยาลัยมหิดล.

กฤตยา อาชวนิจกุล, & พันธุ์ทิพย์ กาญจนะจิตรา สายสุนทร. (2548). คำถามและข้อท้าท้ายต่อนโยบายรัฐไทยในการจัดการปัญหามิติสุขภาวะและสิทธิของแรงงานข้ามชาติ (พิมพ์ครั้งที่หนึ่ง, p. ฌ, 157 หน้า :). กรุงเทพฯ : บริษัทเอดิสัน เพรส โพรดักส์,.

เก่งกิจ กิติเรียงลาภ, & พัชรีพร เทพนำชัย. (2561). แรงงานข้ามชาติในฐานะพลเมืองทางเศรษฐกิจ: อุปสรรคของการเข้าถึงสวัสดิการสังคมในพื้นที่แม่สอด. วารสารสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร, 14(1), 97–117.

เก่งกิจ กิติเรียงลาภ, พัชรีพร เทพนำชัย, & รวีพร ดอกไม้. (2561). เครือข่ายและทุนทางสังคมของแรงงานข้ามชาติ: บทบาทองค์กรชุมชนและการสร้างกลไกพัฒนาภาคีเครือข่ายการจัดสวัสดิการชายแดนแม่สอด ชายแดนไทย-เมียร์มาร์.

ชมนาถ นิตตะโย, โสภณ ธัญญาเวชกิจ, บวรวิชญ์ จินดารักษ์, & นันทนิตย์ ทองศรี. (2563). เปิดข้อเท็จจริงแรงงานต่างด้าวในไทย: ตอนที่ 1 แรงงานทักษะต่ำ | PIER. สถาบันวิจัยเศรษฐกิจป๋วย อึ๊งภากรณ์.

ชลนภา อนุกูล, ศยามล เจริญรัตน์, ศิววงศ์ สุขทวี, รัศมี เอกศิริ, & ธัญชนก วรากรพัฒนกุล. (2564). การพัฒนานโยบายสุขภาพแรงงานข้ามชาติเพื่อตอบรับวิกฤติโรคระบาด: กรณีศึกษาไวรัสโควิด-19 [Technical Report]. สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข.

ชาญวิทย์ ทระเทพ, นธีรัตน์ ธรรม์โรจน์, & ปราณี จริตเอก. (2554). การศึกษาพฤติกรรมการแสวงหาบริการและการใช้บริการเพื่อพัฒนาระบบการเงินการคลังสุขภาพ และการจัดบริการที่เหมาะสมและสอดคล้องกับความต้องการสำหรับแรงงานข้ามชาติ: กรณีศึกษาจังหวัดสมุทรสาคร และจังหวัดระยอง [Technical Report]. สำนักงานวิจัยเพื่อการพัฒนาหลักประกันไทย เครือสถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข.

ปังปอนด์, ร. (2552). บทสังเคราะห์ นโนบาย ยุทธศาสตร์ การบริหารจัดการและแรงกดดันในการนำเข้าแรงงานข้ามชาติของประเทศไทย. สำนักงานแรงงานระหว่างประเทศ ประจำภูมิภาคเอเชียแปซิฟิค.

ปิ่นแก้ว เหลืองอร่ามศรี. (2560). การปกครองโดยเอกสาร: บัตรประจำตัวกับการเมืองว่าด้วยการควบคุมชนผู้มิใช่พลเมืองและแรงงานข้ามชาติ (No. CMU133643). สํานักงานคณะกรรมการส่งเสริมวิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม.

พรรษา ศิริมาจันทร์. (2562). ปัญหาแรงงานต่างด้าวผิดกฎหมาย ๓ สัญชาติในประเทศไทย. สำนักงานสภาความมั่นคงแห่งชาติ.

พฤกษ์ เถาถวิล, น., & สุธีร์ สาตราคม, น. (2558). การศึกษากระบวนการดำเนินงานตามบันทึกความเข้าใจไทย-ลาวว่าด้วยความร่วมมือด้านการจ้างแรงงานในการจ้างแรงงานชาวลาวจากแขวงสาละวันสู่ประเทศไทย: รายงานวิจัยฉบับสมบูรณ์.

พฤกษ์ เถาถวิล & สุธีร์ สาตราคม. (2554). MOU การจ้างงานข้ามชาติ: เสรีนิยมใหม่ การคุ้มครองแรงงาน และการปรับยุทธศาสตร์การกำกับควบคุมของรัฐ. วารสารสังคมลุ่มนํ้าโขง, 7(3), 1–26.

ภัคสิริ แอนิหน. (2561). แรงงานต่างด้าว: การบริหารและการจัดการในประเทศไทย. วารสารศิลปการจัดการ, 2(2), 117–132.

มนทกานต์ ฉิมมามี, & พัชราวลัย วงศ์บุญสิน. (2559). ทุนทางสังคมกับการพัฒนาทุนมนุษย์ของแรงงานข้ามชาติ พม่า ลาว และกัมพูชา หลังย้ายถิ่นมาในประเทศไทย. Journal of Social Research, 37(2), 195–242.

ยงยุทธ แฉล้มวงษ์. (2560). ผลกระทบจากการจ้างแรงงานข้ามชาติของไทย ภายใต้ยุคพิสูจน์สัญชาติ. ทีดีอาร์ไอ.

ยงยุทธ แฉล้มวงษ์, สิริมา มงคลสัมฤทธิ์, สราวุธ ไพฑูรย์พงษ์, กัญญาภัค เงาศรี, ขวัญกมล ถนัดค้า, ราตรี ประสมทรัพย์, … สุนีย์ แซ่คู. (2561). ทัศนคติต่อแรงงานข้ามชาติในประเทศไทย ตามมิติด้านสาธารณสุข ด้านเศรษฐกิจ และด้านความมั่นคงของประเทศ [Technical Report]. https://kb.hsri.or.th/dspace/handle/11228/4963

ระพีพงศ์ สุพรรณไชยมาตย์, วีระศักดิ์ พุทธาศรี, & คนางค์ คันธมธุรพจน์. (2559). การตอบสนองของนโยบายและผลลัพธ์ของบัตรประกันสุขภาพคนต่างด้าวและผู้ติดตามในประเทศไทย [Technical Report]. สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข.

วีระ หวังสัจจะโชค, ว., Wongsatjachock, W., ผลอำนวย, น., Phon-amnuai, N., ทิพย์วงศ์, ร., & Tipwong, R. (2564). การจัดหลักประกันสุขภาพสำหรับผู้มีปัญหาสถานะและสิทธิ รวมถึงผู้ที่ไม่ใช่ประชาชนไทยที่อยู่บนแผ่นดินไทย [Technical Report]. สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข.

ศยามล เจริญรัตน์, ศ., ชลนภา อนุกูล, จิตติพร ฉายแสงมงคล, ศิววงศ์ สุขทวี, & ธัญชนก วรากรพัฒนกุล. (2565). การสำรวจสถานการณ์แรงงานข้ามชาติในเมืองใหญ่และการส่งเสริมบทบาทภาคเอกชนในการพัฒนาระบบสุขภาพแรงงานข้ามชาติ [Technical Report]. สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข.

ศรวณีย์ อวนศรี, สตพร จุลชู, วาทินี คุณเผือก, มธุดารา ไพยารมณ์, พิกุลแก้ว ศรีนาม, & ระพีพงศ์ สุพรรณไชยมาตย์. (2564). การศึกษาสถานการณ์และจัดทำข้อเสนอแนะเชิงนโยบายต่อการพัฒนาระบบบริการสุขภาพสำหรับประชากรกลุ่มเฉพาะ ในกรณีที่มีการระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 ในประเทศไทย [Technical Report]. สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข.

ษัษฐรัมย์ ธรรมบุษดี. (2555). เศรษฐศาสตร์การเมืองว่าด้วยสวัสดิการสำหรับแรงงานข้ามชาติ: กรณีศึกษาแรงงานพม่าในจังหวัดสมุทรปราการ (วิทยานิพนธ์ รัฐศาสตรดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชารัฐศาสตร). คณะรัฐศาสตร์ จุฬาลงกรณ์ มหาวิทยาลัย., กรุงเทพฯ.

สำนักงานสภาพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ. (2562). รายงานการศึกษาผลกระทบจากการเปลี่ยนแปลงโครงสร้างประชากร และข้อเสนอแนะเชิงนโยบายต่อการพัฒนาประเทศจากผลการคาดประมาณประชากรของประเทศไทย. กรุงเทพฯ: สำนักงานสภาพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ.

หทัยรัตน์ โกษียาภรณ์, ระพีพงศ์ สุพรรณไชยมาตย์, สตพร จุลชู, & พิกุลแก้ว ศรีนาม. (2562). ปัจจัยจากระบบสุขภาพที่ส่งผลต่อการเข้าถึง ความเข้าใจและการประเมินข้อมูลสุขภาพของพนักงานและอาสาสมัครสาธารณสุขต่างด้าวภายใต้การบริการที่เป็นมิตรสำหรับคนต่างด้าว [Technical Report]. สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข.

อนิรุจน์ มะโนธรรม, นิติญา สังขนันท์, พัชราวรรณ เก๊อะเจริญ, & สรา อาภรณ์. (2558). อาชีวอนามัยและความปลอดภัยในการทำงานในกลุ่มแรงงานข้ามชาติ: กรณีศึกษากลุ่มกิจการประมงทะเลจังหวัดภูเก็ต (No. 56392). สำนักงานคณะกรรมการส่งเสริมวิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม.

อรอนงค์ วิชัยคำ, กุลวดี อภิชาติบุตร, & อภิรดี นันท์ศุภวัฒน์. (2563). ทัศนคติของบุคลากรสุขภาพต่อการให้บริการสุขภาพแก่คนต่างด้าวและปัจจัยที่เกี่ยวข้อง [Technical Report]. สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข.

อุษาวดี สุตะภักดิ์. (2562). การพัฒนาแนวทางการบริหารจัดการและการจัดระบบบริการสุขภาพให้แก่แรงงานข้ามชาติของประเทศไทย. สำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย.

Downloads

Published

31-08-2022