The environment of digital democracy for the future society

นิเวศประชาธิปไตยดิจิทัลเพื่อสังคมยุคใหม่

Authors

  • Prempapat Plittapolkarnpim
  • Wipaphan Wongsawang

Keywords:

Democracy, Online, Participation, Digital Era, Politics

Abstract

การศึกษาในส่วนนี้มีความมุ่งหมายที่จะสำรวจการนำนวัตกรรมประชาธิปไตยดิจิทัลเพื่อสังคมยุคใหม่โดยได้รวบรวมประสบการณ์ที่เกิดขึ้นในต่างประเทศและในประเทศไทย เพื่อประมวลผลและวิเคราะห์ให้เห็น มิติ โอกาส และข้อพึงระวังจากตัวอย่างที่เคยเกิดขึ้นในอดีต โดยหวังว่าภาพรวมชุดนี้จะทำให้ผู้ที่สนใจศึกษานำไปพัฒนาศักยภาพของ ประชาธิปไตยเชิงปริมาณ ที่มีอยู่แล้วให้มีคุณภาพยิ่งขึ้น และมีจินตนาการต่อ ประชาธิปไตยเชิงคุณภาพและการพัฒนาการมีส่วนร่วมของพลเมือง ในฐานะระบบนิเวศที่เกี่ยวร้อยกันทั้งหมดเป็นองค์รวม ผู้เขียนใช้วิธีเปรียบเทียบระบบนิเวศดังกล่าวนี้เป็น “ป่าดิจิทัล” ซึ่งมีระบบนิเวศย่อย ๆ ทั้ง 4 ระบบ ได้แก่ ระบบนิเวศทางการสื่อสาร, ระบบนิเวศของข้อมูล, ระบบนิเวศของโครงข่ายอำนวยความสะดวก และระบบนิเวศของกระแสอำนาจ ซึ่งทุกระบบนิเวศส่งผลต่อพลวัตในการชิงตำแหน่ง“เจ้าป่า” ซึ่งเหตุการณ์ในป่าดิจิทัลนั้น เปิดโอกาสให้ลองผิดลองถูกอย่างมองเห็นได้ และมีพยานจำนวนมาก ในขณะที่ป่าอำนาจแบบเดิมจะไม่อนุญาตให้เรารับรู้ความผิดพลาดและมีเพียงเรื่องราวของผู้ชนะเท่านั้นที่ถูกเขียน กรณีศึกษาที่นำเสนอต่อไปนี้ จึงเป็นบันทึกความพยายามของผู้ศึกษาที่จะบันทึกการเข้ามาของระบบนิเวศดิจิทัลกับการเมืองไทยในปีเลือกตั้ง พ.ศ. 2562 ซึ่งดูแล้วอยู่ในภาวะลองผิดลองถูก แต่ไม่ว่าผลลัพธ์จะออกมาอย่างไร ก็หวังว่าการรวบรวมนี้จะเป็นประโยชน์แก่ผู้ที่สนใจพัฒนาโครงการใหม่ ๆ บนแพลตฟอร์มออนไลน์ จะได้คำนึงถึงตัวแปรต่าง ๆ ที่เป็นไปได้อย่างรอบด้าน และรอบคอบ

References

Budge, I. (2001). Direct democracy, In Clarke, Paul A.B., Foweraker,Joe (eds.). Encyclopedia of Political Thought. Taylor & Francis. Wiley Online Library.

Coleman, S., & Rowe, C. (2005). REMIXING CITIZENSHIP DEMOCRACY AND YOUNG PEOPLE’S USE OF THE INTERNET, RESEARCH REPORT. Carnegie YPi young people intiative. Retrieved from www.carnegie-youth.ord.uk

Datactive. (n.d.). DATACTIVE – The Politics of Data According to Civil Society. Retrieved from https://data-activism.net/

DataKind. (2018). Using Data to Create Paths out of Homelessness. Retrieved March 11, 2021, from https://www.datakind.org/projects/using-data-to-create-paths-out-of-homelessness

DocuSign. (2017). Retrieved from Data Express website: https://dataexpress.co.th/docusign/elect.in.th. (2562). ผู้สมัคร ส.ส. คนไหน เกี่ยวข้องกับธุรกิจใดบ้าง? Retrieved from https://elect.in.th/politics-and-business/

Friedman, B., & Nissenbaum, H. (1996). Bias in computer systems. ACM Transactions on Information Systems, 14(3), 330–347. https://doi.org/10.1145/230538.230561

Gerbaudo, P. (2019). The Digital Party: Political Organisation and Online Democracy. Pluto Press.

Grillo, C. (2016, December 10). 25 years and counting: Human Rights Data Analysis Group. Retrieved from HRDAG - Human Rights Data Analysis Group website: http://hrdag.org/2016/12/10/hrdag-25-years-and-counting/

Hargittai, E., & Walejko, G. (2008). THE PARTICIPATION DIVIDE: Content creation and sharing in the digital age. Information, Communication & Society, 11(2), 239–256. https://doi.org/10.1080/13691180801946150

Karpf, D. (2012). The MoveOn Effect: The Unexpected Transformation of American Political Advocacy. Oxford, New York: Oxford University Press.

Negroponte, N. (1995). Being Digital. (New York: Vintage Books, 1995), 153. Presented at the For a prescient discussion of “cyberbalkinization,” see also Robert D. Putnam, Bowling Alone: The Collapse and Revival of American Community, (New York: Simon and Schuster, 2000).

Pirate, P. (n.d.). Program Congressus. Retrieved from https://congressus.partipirate.org//.

Right to Repair. (2019). Stand up for your Right to Repair! Retrieved March 12, 2021, from The Repair Association website: https://www.repair.org/stand-up.

The Human Rights Data Analysis Group. (2019). 25 years and counting: Human Rights Data Analysis Group. Retrieved from https://hrdag.org/.

ZOCIAL EYE. (2018). ZOCIAL EYE - SOCIAL MEDIA LISTENING AND ANALYTICS TOOL. Retrieved March 11, 2021, from WISESIGHT website: https://wisesight.com/zocialeye/.

โครงการอินเทอร์เน็ตเพื่อกฎหมายประชาชน (iLaw). (2559, December 27). “ข้อมูลเท็จ” #พรบคอม ฉบับใหม่ สื่อเสี่ยงถูกปิดกั้นการรายงานข่าว แนวโน้มใหม่ที่ไม่สามารถเลี่ยงข้อกล่าวหาได้. Retrieved from Ilaw.ot.th—"ข้อมูลเท็จ" #พรบคอม ฉบับใหม่ สื่อเสี่ยงถูกปิดกั้นการรายงานข่าว แนวโน้มใหม่ที่ไม่สามารถเลี่ยงข้อกล่าวหาได้ website: node/4385.

ทีนิวส์ (Tnews). (2562, February 4). ผีจับยัด?...ชาวแปดริ้วโวย! ไม่รู้อีโหน่อีเหน่ โผล่ชื่อกลายเป็นสมาชิกพรรคชื่อดังซะงั้น. Retrieved from ทีนิวส์ website: https://www.tnews.co.th/contents/492366.

ผู้จัดการออนไลน์. (2562). ประชาธิปไตยมั้ยล่ะ? อดีตผู้สมัคร ส.ส.“อนาคตใหม่” แฉพรรคเลือก ส.ส.หน้าเด็กทั้งที่แพ้โหวตเพราะกลัวเสียหน้า! [MGRONLINE]. Retrieved March 12, 2021, from ผู้จัดการออนไลน์ website: https://mgronline.com/entertainment/detail/9620000017423.

วิรุฬห์วรรณ พิทักษ์ทอง. (2560, December 8). Open Data ข้อมูลเปิดแบบไทยๆ เปิดแค่ไหน เปิดเมื่อไหร่ เปิดอย่างไร. Retrieved from http://www.uddc.net/th/knowledge/open-data-ข้อมูลเปิดแบบไทยๆ-เปิดแค่ไหน-เปิดเมื่อไหร่-เปิดอย่างไร#.Xa4H1JMzY1I.

สนุกดอทคอม. (2562, August 23). เปิดชื่อโหวตกรรมาธิการฯ หลากหลายทางเพศ ใครหนุนตั้ง-ใครคว่ำ. Retrieved from www.sanook.com/news website: https://www.sanook.com/news/7874562/.

สมาชิกหมายเลข 5151189. (2562, February 28). สอบถามน้องเปาเซเว่น เรื่องการยกเลิกสมาชิก All Member (กระทู้พันทิป). from Pantip website: https://pantip.com/topic/38604041.

สฤณี อาชวานันทกุล. (2557). วิถี “ประชาธิปไตยแบบลื่นไหล” ของพรรคไพเรตเยอรมัน—ThaiPublica. Retrieved from https://thaipublica.org/2014/12/pirate-party-germany/.

อนุชิต งามพัฒนพงศ์ชัย. (2561, November 11). Liquid Democracy ประชาธิปไตยแบบตัวแทนที่ปลอมมาหลอกคุณ. Retrieved from Http://www.peoplevote.info/ 2018/11/liquid-democracy-ประชาธิปไตยแบบตัวแทน website: https://www.facebook.com/anuchitvoice/posts/439351753260882.

Downloads

Published

25-04-2023