Environmental injustice

ความไม่เป็นธรรมทางสิ่งแวดล้อม

Authors

  • Kanang Kantamaturapoj

Keywords:

Injustice, Environmental injustice, Environmental justice

Abstract

บทความนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาแนวคิดความไม่เป็นธรรมทางสิ่งแวดล้อม โดยทบทวนประเด็นความไม่เป็นธรรม และศึกษาคดีความไม่เป็นธรรมทางสิ่งแวดล้อมและการดำเนินการในกระบวนการยุติธรรม จากกรณีศึกษา 2 คดี ได้แก่คดีโลกร้อนที่และคดีตะกั่วปนเปื้อนในห้วยคลิตี้ จากการทบทวนวรรณกรรมเกี่ยวข้องพบว่าปัญหาหลักเรื่องความเป็นธรรมทางสิ่งแวดล้อมคือการที่มนุษย์ใช้โลกทัศน์ที่แตกต่างกันระหว่างโลกทัศน์ที่มองมนุษย์เป็นศูนย์กลางและโลกทัศน์ที่มองธรรมชาติเป็นศูนย์กลางเป็นเลนส์ในการกำหนดความเป็นธรรมทางสิ่งแวดล้อม เพื่อถมช่องว่างความไม่เป็นธรรมที่เกิดขึ้นนี้ ผู้เขียนเสนอให้กรมควบคุมมลพิษจัดทำแผนรองรับความเสี่ยงและแผนฟื้นฟูมลพิษระดับชาติและบังคับให้โครงการพัฒนาทุกโครงการมีแผนการจัดการความเสี่ยงที่สอดคล้องกับแผนระดับชาติ  สำหรับการจัดการความไม่เป็นธรรมในระยะยาว มีความจำเป็นต้องปรับเปลี่ยนโลกทัศน์ทางสิ่งแวดล้อมของแต่ละฝ่ายให้มีความเข้าใจที่ตรงกัน สามารถทำได้โดยการให้ข้อมูลอย่างรอบด้าน เปิดโอกาสให้มีการถกเถียงเป็นวงกว้าง และมีกระบวนการหาข้อตกลงที่ทั้งสองฝ่ายสามารถยอมรับร่วมกันได้อย่างเป็นธรรม

References

Cutter, S. L. (1995). Race, class and environmental justice. Progress in human geography, 19:111-111.

Global Network for the Study of Human Rights and the Environment. (2016). Declaration on Human Rights and Climate Change. Retrieved 6 December 2016 http://gnhre.org/declaration-human-rights-climate-change/.

Grey, W. (1993). Anthropocentrism and deep ecology. Australasian Journal of Philosophy, 71(4):463-475.

Guangchun, F. (2012). Taoist Ecology in the Context of the Global Climate Crisis. Prajna Vihara, 13(1-2).

Helm, D., & Hepburn, C. (2014). Nature in the balance: the economics of biodiversity: OUPOxford.

Jabareen, Y. (2008). A new conceptual framework for sustainable development. Environment, development and sustainability, 10(2):179-192.

Martinez-Alier, J. (2012). Environmental justice and economic degrowth: an alliance between two movements. Capitalism Nature Socialism, 23(1):51-73.

Mungthanee, T. (2013). The Environmental Ethics of Culture in Mekong Region: A Case Study of Thai–Lao Culture in Mukdaharn Province (จริยศาสตร์ สิ่งแวดล้อม ใน วัฒนธรรม ลุ่มน้ำ โขง กรณี ศึกษา วัฒนธรรม ไท-ลาว ใน จังหวัด มุกดาหาร). Journal of Mekong Societies (วารสาร สังคม ลุ่มน้ำ โขง), 9(3), 57-76.

Naess, A. (2008). Ecosophy T: Deep versus shallow ecology. Environmental ethics: Readings in theory and application, 219-228.

Pellow, D. N., & Brulle, R. J. (2005).Power, justice, and the environment: toward critical environmental justice studies. Power, justice, and the environment: A critical appraisal of the environmental justice movement, 1-19.

Renehan, R. (1981). The Greek anthropocentric view of man. Harvard studies in classical philology, 85: 239-259.

Secretariat of the Convention on Biological Diversity. (2010). Global Biodiversity Outlook 3. Montreal.

Taylor, D. E. (2000). The rise of the environmental justice paradigm injustice framing and the social construction of environmental discourses. American behavioral scientist, 43(4):508-580.

Weiss, E. B. (1990). Our rights and obligations to future generations for the environment. The American Journal of International Law, 84(1):198-207.

Woods, D. (2002). Sustainable development: A contested paradigm. Paper presented at the Economics Forum of the Foundation for Water Research.

กรมควบคุมมลพิษ. (2558a). คดีพิพาทเกี่ยวกับการกระทำการละเมิดของหน่วยงานทางปกครองหรือเจ้าหน้าที่ของรัฐอันเกิดจากการปฏิบัติหน้าที่ล่าช้าเกินสมควร (สารตะกั่วปนเปื้อนในลำห้วยคลิตี้). Available from ศูนย์ข้อมูลประสานงานเพื่อบังคับใช้กฎหมาย แบบรายงานคดีสิ่งแวดล้อมด้านมลพิษ Retrieved 6 ธันวาคม 2559 http://ccee.pcd.go.th/pcdlawsuit/topic/publicpcdForm02view/9.

กรมควบคุมมลพิษ. (2558b). ค่าเสียหายตตามพระราชบัญญัติส่งเสริมและรักษาคุณภาพสิ่งแวดล้อม (สารตะกั่วปนเปื้อนในลำห้วยคลิตี้) (แบบรายงานคดีสิ่งแวดล้อมด้านมลพิษ). Available from ศูนย์ข้อมูลประสาน

งานเพื่อบังคับใช้กฎหมาย Retrieved 6 ธันวาคม 2559 http://ccee.pcd.go.th/pcdlawsuit/topic/publicpcdForm02view/10.

กรมอุตสาหกรรมพื้นฐานและการเหมืองแร่. (2558). สรุปผลการดำเนินการแก้ไขปัญหาการปนเปื้อนของโลหะตะกั่วในลำห้วยคลิตี้. Retrieved 6 ธันวาคม 2559 www.dpim.go.th/service/download?articleid=6031.

กลุ่มปฏิบัติงานท้องถิ่นไร้พรมแดน. (2554). บทเรียนวิธีพิจารณาและคำพิพากษาคดีความที่ดิน: สำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ.

กิ่งกาญจน์ สํานวนเย็น, พิสมัย ศรีเนตร, &ญาเรศ อัครพัฒนานุกูล. (2556). เขื่อนปากมูลกับผลกระทบต่อการเปลี่ยนแปลงรูปแบบการประกอบอาชีพในชุมชนปากมูน. วารสารสงขลานครินทร์ฉบับสังคมศาสตร์และมนุษยศาสตร์ 19(4):71-107.

กุลภา วจนสาระ. (2555). มองหาความเป็นธรรมในสังคมไทยผ่านคนชายขอบ. กุลภา วจนสาระ และ กฤตยา อาชวนิจกุล (Ed.), ประชากรชายขอบและความเป็นธรรมในสังคมไทย. นครปฐม: สำนักพิมพ์ประชากรและสังคม

เครือข่ายปฏิรูปที่ดินภาคอีสาน. (2554). รายงานการศึกษาความสัมพันธ์ของภาวะโลกร้อนกับวิถีการผลิตและการใช้ทรัพยากรอย่างยั่งยืนของชุมชน กรณีบ้านห้วยระหงส์-ห้วยกลทา อ.หล่มสัก จ.เพชรบูรณ์.

เครือข่ายปฏิรูปที่ดินแห่งประเทศไทย. (2553). วิจัยชาวบ้านต่อสู้คดีความโลกร้อน. Retrieved 5 ธันวาคม 2559 http://www.landactionthai.org/land/index.php/land-reform/2012-05-18-03-20-52/1296-%E0%B8%A7%E0%B8%B4%E0%B8%88%E0%B8%B1%E0%B8%A2%E0%B8%8A%E0%B8%B2%E0%B8%A7%E0%B8%9A%E0%B9%89%E0%B8%B2%E0%B8%99%E0%B8%95%E0%B9%88%E0%B8%AD%E0%B8%AA%E0%B8%B9%E0%B9%89%E0%B8%84%E0%B8%94%E0%B8%B5%E0%B8%84%E0%B8%A7%E0%B8%B2%E0%B8%A1%E0%B9%82%E0%B8%A5%E0%B8%81%E0%B8%A3%E0%B9%89%E0%B8%AD%E0%B8%99.html.

ณฐพงศ์ จิตรนิรัตน์. (2546). ขบวนการ เคลื่อนไหวด้านสิ่งแวดล้อม: มุมมองความคิดด้านสิ่งแวดล้อมและนิเวศวิทยาการเมือง. วารสารปาริชาต, 16(1): 36-45.

ณัฐพล โสตถิรัตน์วิโรจน์. (2557). จริยศาสตร์ของการพัฒนา: บทสำรวจวิวาทะว่าด้วยการพัฒนา. วารสารปัญญาภิวัฒน์, 5(2): 274-288.

ดามร คำไตรย์. (2555). สิทธิมนุษยชนในสิ่งแวดล้อมที่ดี. อัยการ, 25(263):93-111.

เดือนเด่น นาคสีหราช. (2554). หลักความยุติธรรมทางสิ่งแวดล้อมกับข้อเสนอเพื่อชดเชย: กรณีผันน้ำเนื่องจากอุทกภัยในประเทศไทย. AU Law Journal, 2(1): 189-200.

เทพทวี โชควศิน. (2556). บทปริทัศน์ว่าด้วยความก้าวหน้าของงานวิจัยปัจจุบันในจริยศาสตร์ภูมิอากาศ. วารสาร เทคโนโลยีสุรนารี 7(2): 109-115.

ธงชัย นิลคำ. (2557). การพัฒนาคุณธรรมจริยธรรมเพื่อเข้าใจในจริยธรรมสิ่งแวดล้อม. วารสารวิจัยเพื่อพัฒนาสังคมและชุมชน มหาวิทยาลัยราชภัฎมหาสารคาม, 1(1):32-37.

ธีระ สินเดชารักษ์อรอุมา เตพละกุลและจุฑาศินี ธัญปราณีตกุล. (2559). ความเป็นธรรมทางสังคม: ความพยายามชี้วัดและวิเคราะห์ในเชิงตัวเลข. วารสารธรรมศาสตร์, 35(1):164-191.

ธีระพงษ์ วงษ์นา. (2557). ความเป็นธรรม หลากมิติ หลายมุมมอง สู่ดัชนีชี้วัดทางสังคม. วารสารธรรมศาสตร์, 33(2):131-150.

เนื่องน้อย บุณยเนตร. (2537). จริยศาสตร์สภาวะแวดล้อม: โลกทัศน์ในพุทธปรัชญาและปรัชญาระวันตก. กรุงเทพมหานคร: สำนักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

บุญชู ณ ป้อมเพ็ชร. (2555). สิทธิชุมชนในรัฐธรรมนูญไทย. วารสารนิติสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่, 5(2): 77-92.

ปรีชา เปี่ยมพงศ์สานต์. (2559). เศรษฐศาสตร์การเมือง นิเวศวิทยาการเมือง และนิเวศสังคมนิยม. วารสารเศรษฐศาสตร์การเมืองบูรพา, 1(1):217-233.

พงษ์ศักดิ์ วิทวัสชุติกุล และวารินทร์ จิระสุขทวีกุล. (2548). เทคนิคการเป็นพยานศาล: กรณีเรียกค่าเสียหายจากการทำลายป่าต้นน้ำ. Retrieved 5 ธันวาคม 2559, from สถานีวิจัยต้นน้ำชายฝั่งทะเลตะวันออก ส่วนวิจัยต้นน้ำ สำนักอนุรักษ์และจัดการต้นน้ำ กรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืช http://app.dnp.go.th/opac/multimedia/research/P094811.pdf

พันธ์เทพ วิทิตอนันต์. (2558). กฎหมายเพื่อการพัฒนาการบริหารจัดการความหลากหลายทางชีวภาพของประเทศไทยโดยการมีส่วนร่วมของประชาชน วารสารสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ, 18(12), 127-145.

วรานุช ภูวรักษ์. (2555). ปัญหาการดำเนินคดีสิ่งแวดล้อมในศาลชั้นต้น: สถาบันพัฒนาข้าราชการฝ่ายตุลาการศาลยุติธรรม.

ศักดิ์ณรงค์ มงคล. (2558). ความยุติธรรมทางสิ่งแวดล้อม. วารสารพัฒนาสังคม, 17(2):87-112.

ศาลปกครองสูงสุด. (2555). คำพิพากษา (อุทธรณ์) เรื่องคดีพิพาทเกี่ยวกับการที่หน่วยงานทางปกครองละเลยต่อหน้าที่ตามที่กฎหมายกำหนดให้ต้องปฏิบัติหรือปฏิบัติหน้าที่ดังกล่าวล่าช้าเกินสมควร และการกระทำละเมิดของหน่วยงานทางปกครองอันเกิดจากการละเลยต่อหน้าที่ตามที่กฎหมายกำหนดให้ต้องปฏิบัติหรือปฏิบัติหน้าที่ดังกล่าวล่าช้าเกินสมควร. Retrieved from http://admincourt.go.th/admincourt/upload/webcms/Oldnews/attach/news_attach/2013/01/judge10012556.pdf.

สฤณี อาชวานันทกุล. (2554). สถาบัน คน และผลประโยชน์ – ความยุติธรรมในมุมมองของอมาตยา เซน ปกป้อง จันวิทย์ (Ed.), OCTOBER no.10: Justice.

สำนักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม. (2555). การประเมินสิ่งแวดล้อมระดับยุทธศาสตร์ Retrieved 12 มกราคม 2560 http://www.onep.go.th/library/index.php?option

=com_content&view=article&id=71:-strategic-environmental-assessment-sea&catid=22:2012-03-12-02-54-55&Itemid=31.

สำนักงานเลขาธิการสภาปฎิรูปแห่งชาติ. (2558). วาระปฏิรูปพิเศษ 6: การจัดตั้งศาลสิ่งแวดล้อม. กรุงเทพมหานคร: สำนักการพิมพ์ สำนักงานเลขาสภาผู้แทนราษฎร.

สำนักจัดการคุณภาพน้ำ. (2552). การปนเปื้อนของสารตะกั่วในลำห้วยคลิตี้และการเผยแพร่ข้อมูลให้กับประชาชน. In รายงานประจำปี (Ed.), (pp. 54-63). กรุงเทพมหานคร: กรมควบคุมมลพิษ.

สำนักนายกรัฐมนตรี. (2548). ระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรี ว่าด้วยการรับฟังความคิดเห็นของประชาชน พ.ศ.2548, เล่ม 122 ตอนพิเศษ 55 ง C.F.R.

สำนักวิเคราะห์ผลกระทบสิ่งแวดล้อม. (2549). แนวทางการมีส่วนร่วมของประชาชนและการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อมทางสังคมในกระบวนการวิเคราะห์ผลกระทบสิ่งแวดล้อม. กรุงเทพมหานคร.

สุนทรียา เหมือนพะวงศ์. (2552). กระบวนการสร้างความยุติธรรมด้านสิ่งแวดล้อม. Available from แผนกคดีสิ่งแวดล้อมในศาลฎีกาhttp://www.supremecourt.or.th/webportal/maincode/content.php?content=component/library/libview.php&id=3&base=26.

สุภาภรณ์ มาลัยลอย และ สงกรานต์ ป้องบุญจันทร์. (2554). โครงการการรวบรวมคดีสิ่งแวดล้อมที่มีความสำคัญของไทย (30 คดีดัง): แผนงานสร้างเสริมการเรียนรู้กับสถาบันอุดมศึกษาไทยเพื่อการพัฒนานโยบายสาธารณะที่ดี.

สุมิตรชัย หัตสาร และ สุรชัย ตรงงาม. (2554). โครงการพิสูจน์สิทธิในคดีป่าไม้และที่ดิน (ศึกษาจากมุมมองของทนายความ นักพัฒนา และชาวบ้านที่เกี่ยวข้องกับคดีป่าไม้และที่ดิน). กรุงเทพมหานคร: แผนงานสร้างเสริมนโยบายสาธารณะที่ดี.

อาทิตย์ ผ่านพูล. (2558). นิเวศปรัชญากับความสำนึกทางนิเวศวิทยา. วารสารมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฎอุบลราชธานี, 6(1): 27-40.

Downloads

Published

25-04-2023