GAMEs: Learning process to supporting the citizen participation
เกม: กระบวนการเรียนรู้เพื่อส่งเสริมการมีส่วนร่วมของพลเมือง
Keywords:
Game Base Learning, Participation Process, Democracy Innovation, SIM Democracy, Thai Democracy Timeline Game, Democracy TreeAbstract
การส่งเสริมประชาธิปไตยเกิดจากการส่งเสริมให้เกิดกระบวนการมีส่วนร่วมซึ่งสามารถทำได้ในหลายรูปแบบ ไม่เฉพาะในห้องเรียน หรือผ่านเหตุการณ์จริงในปัจจุบัน “เกม” เป็นอีกกระบวนการหนึ่งที่เริ่มมีการนำมาใช้เพื่อการเรียนรู้ผ่านประสบการณ์หรือเหตุการณ์จำลองซึ่งอยู่ทั้งในรูปแบบของเกมกระดาน เกมออนไลน์ และกิจกรรมอบรมเชิงปฏิบัติการ การศึกษาครั้งนี้ใช้การศึกษาเชิงเอกสารที่เป็นข้อมูลทุติยภูมิ ร่วมกับการสัมภาษณ์ผู้เล่นและผู้ผลิตเกม 3 เกมในประเทศไทย คือ เกมเมืองประชาธิปไตย เกมเส้นทางประชาธิปไตย และต้นไม้ประชาธิปไตย โดยใช้กรอบการเรียนรู้ผ่านเกมพบว่า เกมส่งเสริมกระบวนการมีส่วนร่วมรวมไปถึงระบบประชาธิปไตยผ่าน “การจำลอง” ที่เสมือนจริง ทำให้ผู้เล่นสามารถลองเล่นได้หลายครั้งจนเกิดความเข้าใจ สามารถลองผิด ลองถูกได้หลายครั้ง เมื่อเทียบกับระบบประชาธิปไตยจริงที่มีข้อจำกัด และการเล่นเกมนำไปสู่การวางแผนให้เกิดกระบวนการมีส่วนร่วมแบบต่างๆ รวมถึงเข้าใจอุปสรรคต่างๆที่อาจเกิดขึ้น และแนวทางการแก้ไขผ่านกิจกรรมที่ทำอยู่ได้หลายรูปแบบ โดยผู้เล่นจะเรียนรู้ไปพร้อมกับความรู้สึกสบายใจกับกิจกรรมที่เกิดขึ้น ทำให้เปิดโอกาสการเรียนรู้ได้มากขึ้น
References
Alaswad, Z. &Nadolny, L. (2015). Designing for game-based learning:The effective integration of technology to support learning. Journalof Educational Technology Systems, 43(4), 389-402
Baber, B. (1984). Strong Democracy: Participatory Politics for a New Age. Berkley: University of California Press. Elster, Jon (ed.). (1998). Deliberative Democracy. Cambridge University Press.
Gutmann, Amy and Thompson, Dennis. (1996). Democracy and Disagreement. Massachusetts: Harvard University Press.
Ifenthaler, Dirk, Eseryel, Deniz and Ge, Xun. (2012). Assessment in GameBased Learning: Foundations, Innovations, and Perspectives. New York: Springer.
Pateman, Carole. (1995). Participatory and Democratic Theory. Cambridge: Cambridge University Press.
Pho, A. &Dinscore, A. Game-Based Learning. (September 13, 2016) Retrieved from http://www.ala.org/acrl/sites/ala.org.acrl/files/content/aboutacrl/directoryofleadership/sections/is/iswebsite/projpubs/tipsandtrends/spring2015.pdf.
Plass, J. L. et.al (2015). Foundations of Game-Based Learning. Educational Psychologist, 50(4): 258-283.
ดุษฎี โยเหลา และคณะ. (2557). การศึกษาการจัดการเรียนรู้แบบ PBL ที่ได้จากโครงการสร้างชุดความรู้เพื่อสร้างเสริมทักษะแห่งศตวรรษที่ 21 ของเด็กและเยาวชน : จากประสบการณ์ความสำเร็จของโรงเรียนไทย. กรุงเทพมหานคร : ห้างหุ้นส่วนจำกัดทิพย์วิสุทธิ์.
จิราภา เต็งไตรรัตน์. (2554). จิตวิทยาทั่วไป. กรุงเทพฯ : สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, . พิมพ์ครั้งที่ 7
ธีร หฤทัยธนาสันติ์. (2557). แนวคิดประชาธิปไตยในบริบทการศึกษา. วารสารศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์. 25 (1).
สิริอร วิชชาวุธ. (2554). จิตวิทยาการเรียนรู้. กรุงเทพฯ : นักพิมพ์มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.
สุรศักดิ์ หลาบมาลา. (2533). “เขาสอนประชาธิปไตยกันอย่างไร” สารพัฒนาหลักสูตร. 10 (100): 29 – 32 กรกฏาคม 2533.
สุรางค์ โค้ว ตระกูล. (2553). จิตวิทยาการศึกษา. พิมพ์ครั้งที่ 9.กรุงเทพฯ : สำนักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2553.
อัชรา เอิบสุขสิริ. (2556). จิตวิทยาสำหรับครู, กรุงเทพฯ : สำนักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2556.
Downloads
Published
Issue
Section
License
Copyright (c) 2023 Social Justice and Inequality Journal
This work is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-ShareAlike 4.0 International License.