Outcome of the initiative to address malnutrition problems among pre-school children by providing supplementary milk: a case study in Umphang district, Tak province

ผลการแก้ไขปัญหาภาวะทุพโภชนาการในเด็กก่อนวัยเรียน โดยการให้นมกล่องเสริม: กรณีศึกษาพื้นที่อำเภออุ้มผาง จังหวัดตาก

Authors

  • Patinya Srisai
  • Wanlee Khunyosying
  • Poonsak Chatchaijankul
  • Worawit Tontiwattanasap
  • Nee Pudpong
  • Anond Kulthanmanusorn
  • Nareerut Pudpong
  • Mathudara Phaiyarom
  • Rapeepong Suphanchaimat

Keywords:

Preschool Children, Milk, Nutritional Status, Malnutrition, Underweight

Abstract

โรงพยาบาลอุ้มผางได้ริเริ่มโครงการให้นมกล่องยูเอชทีแก่เด็กในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กในอำเภออุ้มผาง14 แห่ง เพื่อแก้ภาวะทุพโภชนาการในเด็กก่อนวัยเรียน การศึกษานี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาการเปลี่ยนแปลงของภาวะโภชนาการของเด็กก่อนและหลังเข้าโครงการ และปัจจัยส่วนบุคคลที่มีผลกระทบต่อการเปลี่ยนแปลง โดยทำการศึกษาแบบกึ่งทดลองก่อนและหลังการให้นมเด็กก่อนวัยเรียนจำนวน 1,192 คน เป็นเวลา 3 เดือน ตั้งแต่วันที่ 1 ตุลาคม ถึง 31ธันวาคม พ.ศ. 2560 วิเคราะห์ข้อมูลด้วยสถิติเชิงพรรณนา และสถิติเชิงอนุมานด้วย McNemar’s Chi-square test และ multivariable logistic regressionเพื่อเปรียบเทียบภาวะโภชนาการก่อน และหลังเข้าโครงการพบว่าก่อนเข้าโครงการ เด็กส่วนใหญ่มีน้ำหนักและส่วนสูงต่ำกว่าเกณฑ์อายุ (ร้อยละ 68.5 และ 64.8ตามลำดับ) ภายหลังเข้าร่วมโครงการ เด็กที่มีน้ำหนักต่ำกว่าเกณฑ์อายุลดลงร้อยละ 7.5 และมีน้ำหนักตามเกณฑ์อายุเพิ่มขึ้น ร้อยละ 7.5 นอกจากนี้ยังพบว่า สัดส่วนเด็กที่มีน้ำหนักตามเกณฑ์อายุและส่วนสูง เพิ่มขึ้นจากร้อยละ 31.1 เป็น 38.7 และจากร้อยละ 66.9 เป็น 72.3 ตามลำดับ อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ(P < 0.001) การเสริมนมให้เด็กก่อนวัยเรียนในพื้นที่ด้อยโอกาสเป็นแนวทางการดำเนินงานที่ให้ประสิทธิผลแม้ในระยะสั้น และควรทำตั้งแต่ก่อนที่เด็กจะเกิดภาวะทุพโภชนาการ เนื่องจากจะให้ผลลัพธ์ได้ดีกว่าเมื่อเกิดภาวะทุพโภชนาการแล้ว

References

Berkey CS, R. H., Willett WC, Colditz GA. (2005). Milk, Dairy Fat, Dietary Calcium, and Weight Gain. Archives of Pediatrics & Adolescent Medicine(159(6)), 543.

Black, R. E., Allen, L. H., Bhutta, Z. A., Caulfield, L. E., de Onis, M., Ezzati, M., . . . Child Undernutrition Study, G. (2008). Maternal and child undernutrition: global and regional exposures and health consequences. Lancet, 371(9608), 243-260. doi:10.1016/S0140-6736(07)61690-0.

Black, R. E., Victora, C. G., Walker, S. P., Bhutta, Z. A., Christian, P., de Onis, M., . . . Child Nutrition Study, G. (2013). Maternal and child undernutrition and overweight in low-income and middle-income countries. Lancet, 382(9890), 427-451. doi:10.1016/S0140-6736(13)60937-X.

Black RE, W. S., Jones IE, Goulding A. (2002). Children who avoid drinking cow milk have low dietary calcium intakes and poor bone health. The American Journal of Clinical Nutrition(76(3)), 675-680.

Cervo M, M. D., Barrios E, Panlasigui L. (2017). Effects of Nutrient-Fortified Milk-Based Formula on the Nutritional Status and Psychomotor Skills of Preschool Children. Journal of Nutrition and Metabolism, 1-16.

DeBoer M, A. H., Scharf R. (2014). Milk intake, height and body mass index in preschool children. Archives of Disease in Childhood(100(5)), 460-465.

Domellof, M., Braegger, C., Campoy, C., Colomb, V., Decsi, T., Fewtrell, M., . . . Nutrition, E. C. o. (2014). Iron requirements of infants and toddlers. J Pediatr Gastroenterol Nutr, 58(1), 119-129. doi:10.1097/MPG.0000000000000206.

National Statistic Office, N. H. S. O., Unicef. (2017). The Thailand Multiple Indicator Cluster Survey (MICS) 2015-2016. Retrieved from https://www.unicef.org/thailand/sites/unicef.org.thailand/files/201806/unicef%20MICS%2014%20Provinces_EN-Hi%20res_0.pdf.

Nguyen Bao K, S. S., Poh B, Rojroongwasinkul N, Huu C, Sumedi E et al. (2018). The Consumption of Dairy and Its Association with Nutritional Status in the South East Asian Nutrition Surveys (SEANUTS). Nutrients(10(6)), 759.

Psaki, S., Bhutta, Z. A., Ahmed, T., Ahmed, S., Bessong, P., Islam, M., . . . for, M. N. I. (2012). Household food access and child malnutrition: results from the eight-country MAL-ED study. Popul Health Metr, 10(1), 24. doi:10.1186/1478-7954-10-24.

กรมอนามัย.กระทรวงสาธารณสุข. (1995). คำนวณภาวะโภชนาการ ; เกณฑ์อ้างอิงน้ำหนัก ส่วนสูง และเครื่องชี้วัดภาวะโภชนาการของประชาชนไทย. Retrieved from http://www.inmu.mahidol.ac.th/thaigrowth/ Retrieved 10 February 2019, from สถาบันโภชนาการ มหาวิทยาลัยมหิดล http://www.inmu.mahidol.ac.th/thaigrowth/.

กรมอนามัย.กระทรวงสาธารณสุข. (1999). เกณฑ์อ้างอิงน้ำหนักส่วนสูงและเครื่องชี้วัดภาวะโภชนาการของ ประชาชนไทย อายุ 1 วัน-19 ปี (report). Retrieved from http://nutrition.anamai.moph.go.th/images/file/%E0%B9%80%E0%B8%81%E0%B8%93%E0%B8%91%E0%B9%8C%E0%B8%AD%E0%B9%89%E0%B8%B2%E0%B8%87%E0%B8%AD%E0%B8%B4%E0%B8%87%E0%B8%99%E0%B9%89%E0%B8%B3%E0%B8%AB%E0%B8%99%E0%B8%B1%E0%B8%81%E0%B8%AA%E0%B9%88%E0%B8%A7%E0%B8%99%E0%B8%AA%E0%B8%B9%E0%B8%87.pdf.

กรมอนามัย.กระทรวงสาธารณสุข. (2003). รายงานการสำรวจภาวะอาหารและโภชนาการของประเทศไทย ครั้งที่ 5 พ.ศ. 2546 (ISBN 974-8137-17-1). Retrieved from กรุงเทพมหานคร: http://nutrition.anamai.moph.go.th/images/file/910.pdf.

อานนท์ กุลธรรมานุสรณ์, เยาวลักษณ์ แหวนวงษ์ และคณะ,. (2018). การประเมินการถ่ายโอนหน่วยบริการ ปฐมภูมิไปยังองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น: สังเคราะห์บทเรียนจากพื้นที่ 51 แห่งและทางเลือกในเชิง นโยบาย. Retrieved from สถาบันวิจัยระบบสุขภาพ (สวรส.): https://kb.hsri.or.th/dspace/handle/11228/4866?locale-attribute=th.

Downloads

Published

25-04-2023