Bangkok and sustainable urban development

กรุงเทพมหานครกับการพัฒนาเมืองอย่างยั่งยืน

Authors

  • Peamanee Chansorklin

Keywords:

Urban Development, Sustainable City, Eco City Development, Bangkok

Abstract

บทความนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อนำเสนอและวิเคราะห์สภาพปัญหาที่เกิดขึ้นในกรุงเทพมหานครและเป้าหมายในการวางแผนเพื่อการพัฒนาเมืองตามแผนพัฒนากรุงเทพมหานครระยะ 20 ปี (พ.ศ. 2556-2575) โดยใช้มิติการวางแผนที่ (Jeffrey R Kenworthy, 2006) เป็นผู้เสนอแนวทางการวางแผนพัฒนาเมืองเพื่อนำไปสู่การเป็นเมืองยั่งยืน เป็นกรอบในการพิจารณา ทั้งนี้การวิเคราะห์ครอบคลุมประเด็นต่างๆ ในการจัดการและพัฒนาเมืองจำนวน 10 มิติ ประกอบด้วย 1) การเป็นเมืองกะทัดรัดและใช้พื้นที่ภายในเมืองให้เกิดประโยชน์สูงสุด 2) เมืองเต็มไปด้วยสิ่งแวดล้อมตามธรรมชาติ3) การเน้นโครงสร้างระบบขนส่งมวลชน ทางเท้า และทางจักรยาน 4) การใช้เทคโนโลยีที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อมในการจัดการน้ำและของเสีย 5) การเติบโตด้านการจ้างงานและการอยู่อาศัย 6) พื้นที่สาธารณะสะท้อนให้เห็นวัฒนธรรม ความเป็นชุมชน ความเป็นธรรม และหลักธรรมาภิบาล 7) โครงสร้างทางกายภาพและสภาพแวดล้อมของเมืองเหมาะสมและตอบสนองความต้องการของประชาชน 8) การเพิ่มประสิทธิภาพของเศรษฐกิจและการจ้างงาน 9) การวางแผนสำหรับการจัดการเมืองเป็นกระบวนการที่มาจากการอภิปรายและตัดสินใจร่วมกัน 10) การตัดสินใจบนพื้นฐานของความยั่งยืนโดยบูรณาการระหว่างสังคม เศรษฐกิจ และสิ่งแวดล้อม ผลการศึกษาพบว่าในภาพรวม กรุงเทพมหานครยังไม่ผ่านหลักเกณฑ์ของมิติการวางแผนและการขนส่งเพื่อการพัฒนาเมืองอย่างยั่งยืน รวมทั้งยังไม่ประสบผลสำเร็จในการพัฒนากรุงเทพมหานครตามแผนที่วางเอาไว้

References

Kenworthy, J. R. (2006). The eco-city: ten key transport and planning dimensions for sustainable city development. Environment and Urbanization, 18(1), 67–85. DOI: 10.1177/0956247806063947

UN. (n.d.). Goal 11: Make cities inclusive, safe, resilient and sustainable. United Nations Sustainable Development. Retrieved August 27, 2020, from http://www.un.org/sustainabledevelopment/cities/

World Bank. (2007). Strategic Urban Transport Policy Directions for Bangkok. Bangkok: World Bank Office Bangkok.

กรมควบคุมมลพิษ. (2562ก). รายงานสถานการณ์มลพิษของประเทศไทย ปี 2561. กรุงเทพฯ: สไตล์ครีเอทีฟ เฮ้าส์.

กรมควบคุมมลพิษ. (ม.ป.ป.). มาตรฐานคุณภาพน้ำ, 29 สิงหาคม 2563. http://www.pcd.go.th/info_serv/reg_std_water05.html#s1

กรุงเทพมหานคร, คณะที่ปรึกษาเอ็มไอที, คณะที่ปรึกษาอีซี. (2538). ผังเมืองกรุงเทพมหานคร.

ชมพูนุท คงพุนพิน และภาวิณี เอี่ยมตระกูล. (2561). การเปลี่ยนผ่านบทบาทพื้นที่สาธารณะของประเทศไทย. วารสารวิชาการคณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ สจล., ปีที่ 26(1), 30-40.

ณฐพงศ์ จิตรนิรัตน์. (2546). ขบวนการเคลื่อนไหวด้านสิ่งแวดล้อม : มุมมองความคิดด้านสิ่งแวดล้อมและ นิเวศวิทยาการเมือง. วารสารปาริชาต, ปีที่ 16(1), 36-45.

ปาริษา มูสิกะคามะ. (2561). การกำกับดูแลพื้นที่สาธารณะเมืองในฐานะทรัพยากรร่วม. วารสารวิชาการคณะ สถาปัตยกรรมศาสตร์ สจล., ปีที่ 27(2), 1-13.

ปุณยนุช รุธิรโก. (2556). ความยั่งยืนในการจัดการพื้นที่สีเขียวในเขตเมือง. วารสารสุทธิปริทัศน์, ปีที่ 27(84), 55-76.

พรรัตน์ พงษ์ประเสริฐ. (2562). ปัจจัยที่ส่งผลต่อการเลือกที่อยู่อาศัยใกล้รถไฟฟ้าในย่าน CBD: กรณีศึกษาสำหรับแนวทางการพัฒนาโครงการอสังหาริมทรัพย์เพื่อสนับสนุนการเดินทางด้วยระบบขนส่งสาธารณะในกรุงเทพมหานคร. วารสารบริหารธุรกิจ เศรษฐศาสตร์และการสื่อสาร, ปีที่ 14(1), 136-149.

มูลนิธิสถาบันวิจัยเพื่อการพัฒนาประเทศไทย. (2543). การประชุมสัมมนารายงานสถานการณ์คุณภาพ สิ่งแวดล้อมของประเทศไทย พ.ศ. 2543: การมีส่วนร่วมของประชาชนและองค์กรในการพิทักษ์สิ่งแวดล้อม, 31 สิงหาคม 2543 ณ ห้องเทพลีลาบอลรูม โรงแรมเอสซีปาร์ค กรุงเทพมหานคร. กรุงเทพฯ: มูลนิธิสถาบันวิจัยเพื่อการพัฒนาประเทศไทย.

ราณี อมรินทร์รัตน์. (2561). การศึกษาเปรียบเทียบความต้องการของนักท่องเที่ยวในการท่องเที่ยวชุมชน: กรณีศึกษาชุมชน 6 แห่งในเขตกรุงเทพมหานคร. วารสารรวิจัยและพัฒนาวไลยอลงกรณ์ในพระบรม ราชูปถัมภ์, ปีที่ 13(2), 86-94

วรรณวรางค์ ศุทธิชัย, ลักขณา อินทร์บึง และหทัยวรรณ ธัญญพาณิชย์. (2562). มาตรการทางกฎหมายเพื่อการมีส่วนร่วมของประชาชนในการจัดการขยะชุมชน. Journal of Buddhist Education and Research, ปีที่ 5(2), 296-308.

ส่วนวัฒนธรรม กรุงเทพมหานคร. (ม.ป.ป.). มรดกภูมิปัญญาทางวัฒนธรรมในพื้นที่กรุงเทพมหานคร, 7 พฤศจิกายน 2563. http://www.bangkok.go.th/culture/page/sub/12424

สำนักยุทธศาสตร์และประเมินผล. (ม.ป.ป.). แผนพัฒนากรุงเทพมหานครระยะ 20 ปี (พ.ศ. 2556-2575). สมุทรสาคร: พิมพ์ดี.

สำนักยุทธศาสตร์และประเมินผล. (ม.ป.ป.). แผนปฏิบัติราชการกรุงเทพมหานครประจำปี พ.ศ. 2563, 29 สิงหาคม2563. http://www.bangkok.go.th/upload/user/00000130/planing/BMAPLAN/BMAplan63.pdf

สำนักสิ่งแวดล้อม. (2562). รายงานสถานการณ์คุณภาพสิ่งแวดล้อมกรุงเทพมหานคร พ.ศ. 2560 – 2561. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์อักษรไทย.

สิงหนาท แสงสีหนาท. (2561). สำนึกต่อถิ่นที่กับสัณฐานต่างลักษณะในเมืองกรุงเทพ. วารสาร Veridian E-Journal, ปีที่ 11(3), 2564-2578.

อภิวัฒน์ รัตนวราหะ. (2543). บททบทวนและวิพากษ์แนวคิดความสมดุลระหว่างงานกับที่อยู่อาศัยในการ วางแผน มหานคร. การประชุมวิชาการสาขาการออกแบบและวางผังชุมชนเมืองและผังเมือง ครั้งที่ 1 เรื่อง มหานคร, 24 มกราคม 2543 ณ ห้องประชุมอาคารสถาบัน 3 จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

อิทธิพงษ์ เขมะเพชร และลักขณา คิดบรรจง. (2557). ปัญหาการดำเนินงานของระบบขนส่งมวลชนและแนวทางการแก้ไข. วารสารวิชาการพระจอมเกล้าพระนครเหนือ, ปีที่ 24(2), 355-363.

Downloads

Published

25-04-2023