Based on universal values: Equity in Thai music education
รากฐานที่ทัดเทียม: ดนตรีไทยศึกษา
Keywords:
Thai Music Education, Equity; Instructional Systems, Universal ValuesAbstract
การสร้างความเข้าใจและความเคารพในแนวคิดเรื่อง “การศึกษาที่ครอบคลุม”ที่มุ่งเน้นการพัฒนาบุคคลตามความถนัดและความจำเป็นบนแนวทางที่หลากหลายความเหลื่อมล้ำาของรายได้ประชากรในกลุ่มคนรวยและกลุ่มคนยากจน ของไทยมีช่องว่างมากขึ้น ส่งผลให้เกิดความเหลื่อมส้ำในโอกาสทางการศึกษา อีกทั้งระบบข้อมูล และสารสนเทศด้านการศึกษาของประชากรรายบุคคลยังไม่ครบถ้วนและเป็นปัจจุบัน ทำให้รัฐ ไม่สามารถจัดสรรโอกาสและให้บริการทางการศึกษาแก่ประชาชนอย่างทั่วถึง และไม่สามารถเข้าถึง กลุ่มเป้าหมายที่มีความต้องการจำเป็นได้อย่างครอบคลุมและครบถ้วนสมัยรัชกาลที่ 7 –10 ของกรุงรัตนโกสินทร์การเรียนการสอนในระบบโรงเรียน ผู้สอนและผู้เรียนมีทั้งพระมหากษัตริย์ พระบรมวงศานุวงศ์ ข้าราชบริพาร และสามัญชน มีการดำเนินการจัดการเรียนการสอนเพื่อประชาชนที่เป็นระบบและเท่าเทียมครูสอนดนตรีที่มีศักยภาพที่ดี มีความสามารถในการออกแบบรูปแบบการสอน มีความพยายามอย่างเต็มที่เพื่อให้มั่นได้ใจว่านักเรียนที่ด้อยโอกาสทั้งหลาย สามารถได้รับการมีส่วนร่วมในการเรียนการสอนได้
References
Akhtar, Z. (2012). Socio-economic Status Factors Effecting the Students Achievement: A Predictive Study. Journal of Social Sciences and Education, 2(1), 281–287.
Bates, V. C. (2012). Social Class and School Music. Music Educators Journal, 98(4), 33–37. https://doi.org/doi:10.1177/0027432112442944
Eagleton, M. (2008). Universal design for learning.
Ewijka, R. van, & Sleegersb, P. (2010). The effect of peer socioeconomic status on student achievement: A meta-analysis. Educational Research Review, 5(1), 134–150.
Global Education Monitoring Report Team. (2020). Global education monitoring report summary, 2020: Inclusion and education: All means all (tha). https://unesdoc.unesco.org/ark:/48223/pf0000373721_tha
Högberg, B. (2019). Educational policies and social inequality in well-being among young adults. British Journal of Sociology of Education, 40(5), 664–681.
KINNIER, R. T., Kernes, J. L., & Dautheribes, T. M. (2000). A Short List of Universal Moral Values. Counseling and Values, Gale Academic OneFile, 45(1), 4–16.
Mellizo, J. M. (2019). Demystifying worldmusiceducation:Fromguiding principles to meaningful practice. General Music Today, 32(2), 18–23. https://doi. org/ 10.1177/ 1048371318805237
Palmer, M., & Sims, W. L. (1993). Music in Prekindergarten: Planning and Teaching. R&L Education.
ณรุทธ์ สุทธจิตต์. (2561). สาระดนตรีศึกษา: แนวคิดสู่แนวปฏิบัติ. สำนักพิมพ์จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
ณัฐดนย์ มหาศิรธนโรจน์. (2559). ดนตรีป๊อบของวัยรุ่นมุสลิม กรณีศึกษา: วง ลาบานูน [วิทยานิพนธ์ ปริญญาดุริยางคศาสตรมหาบัณฑิต]. มหาวิทยาลัยศิลปากร.
นันธิดา จันทรางศุ, สุรสีห์ ชานกสกุล, และสกาวรุ้ง สายบุญมี. (2563). ทิศทางการสอนดนตรีโลก: นิยาม หลักการ และข้อเสนอแนะสำหรับประเทศไทย. วารสารครุศาสตร์จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 48(1), 142–163.
ปราณิสา อุ่นดี และศักดิ์ชัย นิรัญทวี. (2564). รูปแบบการบริหารจัดการศูนย์การเรียนรู้ดนตรีไทย โดยภาค ประชาชนในท้องถิ่นภาคกลาง. วารสารวิชาการอยุธยาศึกษา, 13(1).
แผนการศึกษาแห่งชาติ. (2560). แผนการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2560 – 2579. พริกหวานกราฟฟิค กรุงเทพฯ.
พรรณราย คำโสภา. (2561). การคงอยู่ของเพลงพื้นบ้านกันตรึม: เอกลักษณ์ของกลุ่มชาติพันธุ์ไทย-เขมร. วารสารมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏสุรินทร์, 331–343.
ยุทธนา ฉัพพรรณรัตน์. (2562). พัฒนาการหลักสูตรและการเรียนการสอนดนตรีไทยศึกษาของประเทศ ไทย. วารสารเซนต์จอห์น, 22(31), 281–301.
วรรณวลี คำพันธ์ และพชร สุวรรณภาชน์. (2562). “ทางทุ้ม”: ความหมายและแบบแผนการบรรเลง. การ ประชุมวิชาการบัณฑิตศึกษาระดับชาติ สรรพศาตร์ สรรพศิลป์, 426–440.
สำนักมาตรฐานและประเมินผลอุดมศึกษาและกรมศิลปากร. (2553). เกณฑ์มาตรฐานดนตรีไทย. ภาพพิมพ์.
สำนักวิชาการและมาตรฐานการศึกษา. (2551). ตัวชี้วัดแลพะสาระการเรียนรู้แกนกลาง กลุ่มสาระการ เรียนรู้ศิลปะ.
อดิวัชร์ พนาพงศ์ไพศาล. (2561). ภูมิปัญญาทางด้านดนตรีกับการสืบทอดและการอนุรักษ์ของ 7 กลุ่ม ชาติพันธุ์ ชุมชนตำบลวาวี อำเภอแม่สรวย จังหวัดเชียงราย. วารสารดนตรีรังสิต มหาวิทยาลัยรังสิต, 13(2), 89–103.
อัจฉรีย์ ทิพธนธรณินทร์ & สมบูรณ์ ศิริสรรหิรัญ. (2556). ความเท่าเทียมทางการศึกษารากฐานการพัฒนาการศึกษาไทยสู่สากล. วารสารการเมืองการปกครอง การจัดการชุมชนเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน, 3(2).
อานันท์ นาคคง. (2556). การศึกษาวงดนตรีไทร่วมสมัยและผลงานดนตรีไทยร่วมสมัยในสังคมไทยปัจจุบัน. http://ocac.go.th/wp-content/uploads/2019/04/นายอานันท์-นาคคง.pdf
สัมภาษณ์
คอลิด มิดำ, สัมภาษณ์, 5 กรกฎาคม 2564.
ไชยวุฒิ โกศล, สัมภาษณ์, 5 กรกฎาคม 2564.
มนัส แก้วบูชา, สัมภาษณ์, 6 กรกฎาคม 2564.
Downloads
Published
Issue
Section
License
Copyright (c) 2023 Social Justice and Inequality Journal
This work is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-ShareAlike 4.0 International License.