การจัดการการเรียนรู้และผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนรายวิชาภูมิศาสตร์เศรษฐกิจของนิสิต ปริญญาตรีหลักสูตรภูมิศาสตร์และภูมิสารสนเทศระหว่างสถานการณ์การระบาดของ โรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019

ผู้แต่ง

  • ปกรณ์ เมฆแสงสวย คณะสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ

คำสำคัญ:

การจัดการเรียนรู้, ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน, ภูมิศาสตรเศรษฐกิจ,, การสอนออนไลน

บทคัดย่อ

บทคัดยอ
งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค 1) เพื่อตรวจสอบความตองการในการจัดการเรียนรูของนิสิตระดับปริญญาตรี
หลักสูตรภูมิศาสตรและภูมิสารสนเทศ และ 2) เพื่อศึกษาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนรายวิชาภูมิศาสตรเศรษฐกิจ
ในชวงระหวางสถานการณการระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 โดยมีวิธีการศึกษา คือ แบบสอบถาม
แนวทางการจัดการเรียนการสอนนิสิตภาควิชาภูมิศาสตร คณะสังคมศาสตร มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ
ภาคเรียนที่ 2 ปการศึกษา 2563 จํานวน 187 คน คิดเปนรอยละ 85.78 ของนิสิตทั้งหมด และแบบประเมินผล
สัมฤทธิ์การเรียนออนไลน รายวิชา ภม 234 ภูมิศาสตรเศรษฐกิจ เปนแบบมาตราสวนประมาณคา (Likert’s
scale) จํานวน 5 ระดับ จากนิสิตที่ลงทะเบียนในรายวิชา จํานวน 30 คน ผลการศึกษาที่สําคัญอภิปรายได 2
ประเด็น ประเด็นแรก การเขาใจความตองการของนิสิตเพื่อจัดการเรียนการสอนไดอยางมีประสิทธิภาพ ไดแก
ระดับการเขาถึงอุปกรณเพื่อการเรียนออนไลนของนิสิตในระดับมากที่สุด คือ โทรศัพท Smartphones ความ
ตองการสวนมากของนิสิตในการจัดหองเรียนแบบ Hybrid และความสามารถในการปรับตัวใหเขากับการจัด
หองเรียนทั้งแบบสลับกันเขามาเรียนในหองเรียนตามหลักการเวนระยะหาง ประเด็นที่สอง ผลสัมฤทธิ์ทางการ
เรียนรายวิชาภูมิศาสตรเศรษฐกิจ พบวา นิสิตมีเจตคติตอการเรียนอยูในระดับสูง (𝑥𝑥=4.08, SD=0.88) มี
แรงจูงใจไฝสัมฤทธิ์อยูในระดับสูง (𝑥𝑥=4.22, SD=0.71) และพฤติกรรมการเรียนออนไลนของนิสิตในอยูใน
ระดับสูง (𝑥𝑥=3.95, SD=0.91)

References

กาญจนา บุญภักดิ์. (2563). การจัดการเรียนรูยุค New Normal. วารสารครุศาสตรอุตสาหกรรม, 19(2), หน้า A1-A6.

แก้วใจ มาลีลัย, ภคิน ไชยช่วย, จินดา คําแก้ว, พนาไพร โฉมงาม และนุชจรินทร์ แก่นบุปผา. (2564). การประเมินผลการจัดการเรียนออนไลน์ของนักศึกษาวิทยาลัยการสาธารณสุขสิรินธร จังหวัดอุบลราชธานีในสถานการณ์การระบาดของ COVID-19. วารสารวิทยาศาสตร์สุขภาพ วิทยาลัยพยาบาลบรมราชชนนี

สรรพสิทธิประสงค์, 5(3), หน้า 106-118.

ธราดล เสาร์ชัย. (2563). ผลการจัดการเรียนการสอนภาคปฎิบัติเชิงบูรณาการระหว่างวิชาเทคโนโลยีอาคาร 2 กับวิชาการออกแบบสถาปัตยกรรม 3 ในช่วงสถานการณ์โควิด 19. ใน หนังสือประมวลบทความในงานประชุมวิชาการ SPU EDUCATIONAL TRANSFORMATION TO THE NEW NORMAL

หัวข้อ โอกาสและความท้าทายการจัดการเรียนการสอนในช่วงภาวะวิกฤต Covid-2019 และ New Normal. กรุงเทพฯ: ศูนย์สนับสนุนและพัฒนาการเรียนการสอน มหาวิทยาลัยศรีปทุม.

นงลักษณ์ เขียวมณี. (2562). การศึกษาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน กลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยีและความสามารถในการคิดสร้างสรรค์ ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 โดยวิธีการจัดการเรียนรู้แบบใช้โครงงานเป็นฐาน. วิทยานิพนธ์ครุศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาหลักสูตรและการสอน, บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยราชภัฏวไลยอลงกรณ์ ในพระบรมราชูปถัมภ์จังหวัดปทุมธานี.

นันทนพ เข็มเพชร. (2563). ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนต่ําของนิสิตวิทยาลัยการเมืองการปกครอง มหาวิทยาลัยมหาสารคาม. วารสารการเมืองการปกครอง, 10(2), หน้า 221-239.

ปรียา ริยาพันธ์ และสันติ โชติแก้ว. (2563). การศึกษาความสัมพันธ์เชิงสาเหตุระหว่างปัจจัยการใช้เฟซบุ๊กและผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักศึกษาโดยใช้ตัวแบบสมการเชิงโครงสร้าง. วารสารนวัตกรรมการเรียนรู้ มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์, 6(2), หนา 33-57.

ปิยรัตน์ รอดแก้ว, อุทุมพร ดุลยเกษม และสิงห์ กาญจนอารี. (2565). สภาพการเรียนการสอนออนไลน์ช่วง

การระบาดของไวรัสโคโรน่า 2019 (COVID-19) ของวิทยาลัยพยาบาลบรมราชชนนีนครศรีธรรมราช.

มหาจุฬานาครทรรศน์, 9(2), หน้า 125-141.

ปิยะ ไล้หลีกพาล. (2563). ปัญหาและโอกาสของการการสอนออนไลน์ในช่วงภาวะวิกฤต COVID-19 กรณีศึกษา การสอนแบบบรรยาย วิชา IND143 ประวัติศิลปะการตกแต่งตะวันตก. ใน หนังสือประมวลบทความในงานประชุมวิชาการ SPU EDUCATIONAL TRANSFORMATION TO THE NEW NORMAL หัวข้อ โอกาสและความท้าทายการจัดการเรียนการสอนในช่วงภาวะวิกฤต Covid-2019และ New Normal. กรุงเทพฯ: ศูนย์สนับสนุนและพัฒนาการเรียนการสอน มหาวิทยาลัยศรีปทุม.

พัณนิดา อุปหนอง. (2563). การเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนโดยการจัดการเรียนรู้รูปแบบวิธีการทางประวัติศาสตร์กับการจัดการเรียนรู้กรูปแบบบรรยาย รายวิชา สศ 2202101 ประวัติศาสตร์ไทยของนักศึกษาระดับปริญญาตรี. วารสารพัฒนาทักษะทางวิชาการอย่างยั่งยืน, 2(3), หน้า 15-27.

ภาสกร เรืองรอง และกิ่งกมล ศิริประเสริฐ. (2563). การสอนภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสารตามแนวคิดเกมมิฟิเคชันกับรูปแบบการเรียนออนไลน์. วารสารอิเล็กทรอนิกส์สื่อนวัตกรรมและการศึกษาเชิงสร้างสรรค์, 30(2), หน้า 65-78.

มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ. (2564). มาตรการป้องกันการแพร่ระบาดของเชื้อโรค COVID-19 มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ (ออนไลน์). เข้าถึงได้จาก: https://covid19.swu.ac.th[2564, 1 กุมภาพันธ์]

ยุพาวรรณ ทองตะนุนาม, วรพนิต ศุกระแพทย์, ศุภกร หวานกระโทก และพัธนินทร์ สันตยากร. (2564). ผลของการจัดการเรียนการสอนออนไลน์แบบใช้ปัญหาเป็นฐานสําหรับนักศึกษาพยาบาล ในสถานการณ์แพร่ระบาดของ COVID-19 ต่อผลการเรียนรู้ตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิอุดมศึกษาแห่งชาติ. วารสารพยาบาลกระทรวงสาธารณสุข, 31(2), หน้า 10-25.

วิทยา วาโย, อภิรดี เจริญนุกูล, ฉัตรสุดา กานกายันตและจรรยา คนใหญ, (2563). การเรียนการสอนแบบออนไลน์ภายใต้สถานการณ์แพร่ระบาดของไวรัส COVID-19 : แนวคิดและการประยุกต์ใช้จัดการเรียนการสอน. วารสารศูนย์อนามัยที่ 9 : วารสารส่งเสริมสุขภาพและอนามัยสิ่งแวดล้อม. 14(34), หน้า 285-298.

วีรพล แก้วพันธ์อ่ํา, จิระวรรณ ยืนยั่ง และพรชัย พันธุ์วิเศษ. (2564). การศึกษาความสามารถในการเรียนรู้แบบนําตนเองในแต่ละช่วงอายุ ของนักศึกษาวิทยาลัยชุมชนสระแก้วผ่านการเรียนรู้แบบออนไลน์ในสถานการณ์โรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019. Journal of Roi Kaensarn Academi, 6(1),หน้า 98-112.

สมชาย พาชอบ. (2563). การจัดการเรียนรู้แบบเชิงรุกเพื่อพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน รายวิชานวัตกรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศทางการศึกษา ของนักศึกษาคณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยการกีฬาแห่งชาติวิทยาเขตอุดรธานี. วารสาร มจร อุบลปริทรรศน์, 5(3), หน้า 33-42.

สิริพร อินทสนธิ์. (2563). โควิด-19 : กับการเรียนการสอนออนไลน์ กรณีศึกษา รายวิชาการเขียนโปรแกรมเว็บ.วารสารวิทยาการจัดการปริทัศน์, 22(2), หน้า 203-213.

สุวัทนา สงวนรัตน์. (2564). ผลการใช้กิจกรรมจดบันทึกคอร์เนลล์เพื่อส่งเสริมผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน และความพึงพอใจต่อการเรียน รายวิชาวิธีวิทยาการจัดการเรียนรู้ 1 สําหรับนักศึกษาหลักสูตรครุศาสตรบัณฑิต. วารสารวิชาการและวิจัยสังคมศาสตร์, 16(1), หน้า 31-42.

อรรณพ เยื้องไธสง, ศุภวงค์ โหมวานิช, รัชนก อุ้ยเฉ้ง และอุบลวรรณ หงส์วิทยากร. (2565). ความเหลื่อมล้ําทางการศึกษา: สภาพการจัดการเรียรู้ออนไลน์ในช่วงการแพร่ระบาดของเชื้อไวรัส COVID-19. วารสารสังคมวิจัยและพัฒนา, 4(2), หน้า 13-29.

อาฟีฟิ ลาเต๊ะ. (2563). การจัดกิจกรรมการเรียนรู้โดยใช้โครงงานเป็นฐานเพื่อพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนรายวิชาสถิติสําหรับนักศึกษาหลักสูตรปริญญาตรี วิทยาลัยเทคนิคปัตตานี. วารสารวิจัยมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลศรีวิชัย, 12(1), หน้า 49-60

อชิระ อุตมาน และพิมพ์ตะวัน จันทัน. (2563). การรับมือกับโรคระบาดโควิด (COVID-19) ด้วยการจัดการเชิงพื้นที่: วิธีการจัดการและข้อเสนอแนะของการจัดการเรียนการสอนสังคมศึกษาในระดับอุดมศึกษาของไทย. สรรสาส์นสังคมศาสตร์ถอดบทเรียน “โควิด-19” ในมิติทางสังคม. หน้า 82-91. กรุงเทพฯ: คณะสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ

Downloads

เผยแพร่แล้ว

2023-04-27