แบรนด์นายจ้างที่มีผลต่อความผูกพันต่อองค์กรของพนักงานระดับปฏิบัติการ ในเขตนิคมอุตสาหกรรมจังหวัดระยอง

ผู้แต่ง

  • พรชุลีย์ พิสุทธิ์บริบูรณ์ วิทยาลัยบัณฑิตศึกษาด้านการจัดการ มหาวิทยาลัยศรีปทุม วิทยาเขตชลบุรี
  • ชลธิศ ดาราวงษ์ วิทยาลัยบัณฑิตศึกษาด้านการจัดการ มหาวิทยาลัยศรีปทุม วิทยาเขตชลบุรี
  • อนุรักษ์ เรืองรอบ วิทยาลัยบัณฑิตศึกษาด้านการจัดการ มหาวิทยาลัยศรีปทุม วิทยาเขตชลบุรี

คำสำคัญ:

แบรนด์นายจ้าง, ความผูกพันต่อองค์กร, พนักงานระดับปฏิบัติการ

บทคัดย่อ

การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ ศึกษาระดับอิทธิพลของแบรนด์นายจ้างที่มีต่อความผูกพันขององค์กรของพนักงานระดับปฏิบัติการในจังหวัดระยอง กลุ่มตัวอย่างเป็นพนักงานระดับปฏิบัติการในโรงงานในเขตนิคมอุตสาหกรรมจังหวัดระยอง จำนวน 410 คน ด้วยวิธีการเลือกตัวอย่างแบบ (Convenience sampling) สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูลเป็นสถิติเชิงพรรณนาได้แก่ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และสถิติเชิงอนุมาน ได้แก่ การทดสอบ t-test ความแปรปรวนทางเดียว (One-way ANOVA) และการวิเคราะห์สมการเส้นถดถอยพหุคูณ

            ผลการวิจัยพบว่า แบรนด์นายจ้างมีอิทธิพลต่อความผูกพันต่อองค์กรของพนักงานระดับปฏิบัติการในโรงงานในเขตนิคมอุตสาหกรรมในจังหวัดระยอง ได้แก่ บรรยากาศการทำงานที่สร้างสรรค์ การอบรมและพัฒนา ค่าตอบแทนและสวัสดิการ จริยธรรม และความรับผิดชอบขององค์กรต่อสังคม และความสมดุลระหว่างการทำงาน และชีวิต

References

จิระพงค์ เรืองกุน. (2557). การสร้างแบรนด์นายจ้าง: กลยุทธ์การดึงดูดและรักษาผู้มีความสามารถสูง. วารสารวิทยาการจัดการ, 31(2), หน้า 187-209.

จุฑาจิตร ประดิษฐเจริญ. (2559). บทบาทของอัตลักษณ์องค์การ และความมุ่งมั่นทุ่มเทในการทำงานที่มีต่อพฤติกรรมการเป็นสมาชิกที่ดีขององค์การ. วิทยานิพนธ์วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาการพัฒนาทรัพยากรมนุษยและองค์การ, คณะพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์.

ฐาปณี บุณยเกียรติ. (2559). การรับรู้บรรยากาศองค์การที่มีอิทธิพลต่อความผูกพันขององค์การและพฤติกรรมการเป็นสมาชิกที่ดีของพนักงานต่อองค์การ. การค้นคว้าอิสระบริหารธุรกิจมหาบัณฑิต วิชาเอกการจัดการทั่วไป, คณะบริหารธุรกิจ มหาวิทยาลัยราชมงคลธัญบุรี.

ธนาสิทธิ์ เพิ่มเพียร. (2550). รายงานการวิจัย คุณภาพชีวิตในการทำงานกับความผูกพันต่อองค์การของพนักงานในกลุ่มอุตสาหกรรมชิ้นส่วนอิเล็กทรอนิกส์ในเขตนิคมอุตสาหกรรมนวนคร จังหวัดปทุมธานี. กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยศรีปทุม.

ธาดา ราชกิจ. (2562). การสร้างมนุษย์สัมพันธ์ในองค์กร (Human Relation in Organization) (ออนไลน์). เข้าถึงได้จาก: https://th.hrnote.asia/orgdeelopment/190523-human-relation-organization/ [2564, 15 ธันวาคม].

ธีรินทร นวลฤทัย. (2561). การรับรู้แบรนด์นายจ้าง (Employer Branding) กับการตัดสินใจเลือกเข้าทํางานที่ บริษัทปูนซิเมนต์ไทย จํากัด (มหาชน). สารนิพนธ์การจัดการมหาบัณฑิต, วิทยาลัยการจัดการ มหาวิทยาลัยมหิดล.

เบญญาภา สุวรรณทอง. (2557). อิทธิพลความผูกพันของพนักงานในภาคธุรกิจบริการที่ส่งผลต่อความภักดีของลูกค้า. วิทยานิพนธ์บริหารธุรกิจมหาบัณฑิต วิชาเอกการจัดการทั่วไป, คณะบริหารธุรกิจ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี.

ปฐมชนก ศิริพัชระ. (2557). ความผูกพันต่อองค์การของอาจารย์มหาวิทยาลัย. ปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขารัฐประศาสนศาสตร์, คณะรัฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยรามคำแหง.

ปรีณาพรรณ ทัพมาลี. (2563). ปัจจัยที่ส่งผลต่อความจงรักภักดีต่อองค์การของครูและบุคลากรทางการศึกษาโรงเรียนในเครือสารสาสน์. วิทยานิพนธ์ ศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาการจัดการการศึกษา, วิทยาลัยครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย์.

วธัญญู มารีย์สิริสกุล. (2563). ความสัมพันธ์ระหว่างการรับรู้แบรนด์นายจ้างกับผลการปฏิบัติงานของ พนักงาน ผ่านตัวแปรสื่อความพึงพอใจในงาน: กรณีศึกษาองค์การรัฐวิสาหกิจด้านสาธารณูปโภคพื้นฐานแห่งหนึ่งในประเทศไทย. วิทยานิพนธ์วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์และองค์การ, คณะพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์.

สมเกียรติ อินยม. (2560). ความผูกพันต่อองค์กรของพนักงานฝ่ายผลิตของบริษัทแห่งหนึ่งในนิคมอุตสาหกรรมอีสเทิร์นซีบอร์ดจังหวัดระยอง. งานนิพนธ์รัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต กลุ่มวิชาการจัดการภาครัฐและภาคเอกชน, วิทยาลัยการบริหารรัฐกิจ มหาวิทยาลัยบูรพา.

สมจิตร จันทร์เพ็ญ. (2557). ความผูกพันต่อองค์กรของเจ้าหน้าที่สถาบันพัฒนาองค์กรชุมชน (องค์การมหาชน). การศึกษางานวิชาการค้นคว้าอิสระศิลปศาสตรมหาบัณฑิต (การบริหารพัฒนาสังคม) หลักสูตรศิลปศาสตรมหาบัณฑิต (การบริหารพัฒนาสังคม), คณะพัฒนาสังคมและสิ่งแวดล้อม สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์.

สุภเชษฐ์ เล็กคมแหลม, ธัญนันท์ บุญอยู่ และมนสิชา สุจิตบวรกุล. (2564). อิทธิพลคั่นกลางของความผูกพันของพนักงานที่เชื่อมโยงระหว่างภาพลักษณ์ของผู้ประกอบการสู่พฤติกรรมการเป็นสมาชิกที่ดีของพนักงานอุตสาหกรรมอัญมณี และเครื่องประดับในอำเภอกระทุ่มแบน จังหวัดสมุทรสาคร. วารสารวิจัยมหาวิทยาลัยเวสเทิร์น มนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์, 7(1), หน้า 210-221.

Ambler, T., & Barrow, S. (1996). The employer brand. Journal of brand management, 4, pp. 185-206.

Ahmad, N. A., & Daud, S. (2016). Engaging people with employer branding. Procedia Economics and Finance, 35, pp. 690-698.

Arasanmi, C. N., & Krishna, A. (2019). Employer branding: perceived organisational support and employee retention-the mediating role of organisational commitment. Industrial and Commercial Training, 51(3), pp. 174-183.

Cochran, W. G. (1977). Sampling techniques (2nd ed.). NY: john wiley & sons.

Hadi, N. U., & Ahmed, S. (2018). Role of employer branding dimensions on employee retention: evidence from educational sector. Administrative sciences, 8(3), p. 44.

Meyer, J. P., & Allen, N. J. (1991). A three-component conceptualization of organizational commitment. Human resource management review, 1(1), pp. 61-89.

Nunnally, J. C., & Bernstein, I. H. (1994). The Assessment of Reliability. Psychometric theory,

, pp. 248-292.

Tanwar, K., & Prasad, A. (2016). Exploring the relationship between employer branding and employee retention. Global business review, 17(3_suppl), pp. 186S-206S.

Downloads

เผยแพร่แล้ว

2024-05-01