คุณสมบัติของบรรจุภัณฑ์ที่มีผลต่อความตั้งใจซื้อและความชอบในแบรนด์ ผลิตภัณฑ์นมพร้อมดื่ม
คำสำคัญ:
คุณสมบัติของบรรจุภัณฑ์, ความตั้งใจซื้อ, ความชอบในแบรนด์บทคัดย่อ
งานวิจัยมีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) เพื่อศึกษาระดับอิทธิพลของคุณสมบัติของบรรจุภัณฑ์นมพร้อมดื่มมีผลต่อความตั้งใจซื้อและความชอบในแบรนด์นมพร้อมดื่ม และ 2) เพื่อศึกษาระดับอิทธิพลกำกับของปัจจัยส่วนบุคคลที่มีต่ออิทธิพลของคุณสมบัติของบรรจุภัณฑ์นมพร้อมดื่ม กลุ่มตัวอย่างของงานวิจัยนี้ คือ ลูกค้าที่ผลิตภัณฑ์นมพร้อมดื่ม โดยใช้วิธีการสุ่มตัวอย่างตามสูตรของ Taro Yamane ได้จำนวนกลุ่มตัวอย่าง 400 คน สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ความถี่ ค่าเฉลี่ย การทดสอบความแปรปรวน และการวิเคราะห์สมการเส้นถดถอยพหุคูณ ผลวิจัยพบว่า 1) คุณสมบัติด้านประโยชน์ในการใช้งานด้านคุณภาพทางเทคนิค ด้านข้อมูลบนฉลากและเครื่องหมายรับรอง และด้านลักษณะปรากฏจะมีผลต่อความตั้งใจซื้อและความชอบในแบรนด์นมพร้อมดื่มที่แตกต่างกัน และ 2) อิทธิพลของคุณสมบัติของนมพร้อมดื่มที่มีผลต่อความตั้งใจซื้อและความชอบในแบรนด์นมพร้อมดื่มจะแตกต่างกันตามอายุและรายได้เฉลี่ยต่อเดือน
References
กฤษฎา ดลปัญญา. (2563). ปัจจัยทางสิ่งแวดล้อมที่ส่งผลต่อการตัดสินใจซื้อบรรจุภัณฑ์จากกาบหมากของผู้บริโภคในจังหวัดประจวบคีรีขันธ์. วารสารธุรกิจปริทัศน์, 12(2), หน้า 7-22.
จารวี กระแสร์ชล. (2561). ลักษณะของบรรจุภัณฑ์ที่มีผลต่อความพึงพอใจตราสินค้านํ้าผลไม้บรรจุกล่องของ
นักศึกษามหาวิทยาลัยในจังหวัดชลบุรี. วารสารวิชาการศรีปทุม ชลบุรี, 14(3), หน้า 131-139.
เจณิภา คงอิ่ม. (2564). รูปแบบบรรจุภัณฑ์ที่มีผลต่อการตัดสินใจซื้อผลิตภัณฑ์เบเกอรี่ของผู้บริโภคในเขต
จังหวัดนนทบุรี. วารสารมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชพฤกษ์ ฉบับพิเศษ
ครบรอบ 15 ปี มหาวิทยาลัยราชพฤกษ์, หน้า 342-358.
ญาตาวี ทิพย์เที่ยงแท้. (2565). อิทธิพลของเทคโนโลยีความจริงเสริมที่มีต่อความตั้งใจซื้อสินค้ากลุ่ม
เครื่องสำอางผ่านทัศนคติต่อเทคโนโลยี. สารนิพนธ์การจัดการมหาบัณฑิต, วิทยาลัยการจัดการ
มหาวิทยาลัยมหิดล.
ณัชชา ดวงพลอย. (2561). ปัจจัยที่ส่งผลต่อความตั้งใจซื้อซ้ำเครื่องสำอางเคาน์เตอร์แบรนด์ BSC ใน
ห้างสรรพสินค้าในเขตกรุงเทพมหานครและปริมณฑล. การค้นคว้าอิสระบริหารธุรกิจมหาบัณฑิต,
บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยกรุงเทพ.
ณัฐกฤษณ์ รัตนเหม. (2561). ความน่าไว้วางใจของธุรกิจเฟอร์นิเจอร์ที่ส่งผลต่อความตั้งใจซื้อสินค้าผ่าน
ระบบพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์. วิทยานิพนธ์บริหารธุรกิจมหาบัณทิต สาขาวิชาหลักสูตรบริหารธุรกิจ
มหาบัณฑิต แผน ก แบบ ก 2, บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศิลปากร.
ธนพร สิทธิยศ. (2561). การพัฒนาบรรจุภัณฑ์ไวน์สตรอว์เบอร์รี่ สวนดอยแก้ว เชียงใหม่. การค้นคว้าอิสระ
บริหารธุรกิจมหาบัณฑิต สาขาวิชาบริหารธุรกิจ, บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยแม่โจ้.
ปรีดี นุกุลสมปรารถนา. (2564). กระบวนการตัดสินใจซื้อของผู้บริโภค (Consumer Buying Process)
(ออนไลน์). เข้าถึงได้จาก: https://www.popticles.com/marketing/consumer-buying-
process/ [2567, 22 มิถุนายน].
มุทิตา ณ นคร. (2565). อิทธิพลของรูปแบบบรรจุภัณฑ์ที่ส่งผลต่อการตัดสินใจซื้อสินค้าประเภทเครื่องดื่ม
ของผู้บริโภคในเขตกรุงเทพมหานคร. วารสารการบริหารนิติบุคคลและนวัตกรรมท้องถิ่น, 8(7),
หน้า 1-12.
วีรณา นภากร. (2561). รูปแบบบรรจุภัณฑ์ที่ส่งผลต่อการตัดสินใจซื้อผลไม้อบแห้ง ของผู้บริโภคจาก
ซุปเปอร์มาร์เก็ต ในกรุงเทพมหานคร. วารสารวไลยอลงกรณ์ปริทัศน์, 8(1), หน้า 37-46.
ศรัฐ สิมศิริ, มานะ เอี่ยมบัว, ชนินทร์ กุลเศรษฐัญชลี, สธนวัชร์ ประกอบผล, วรรณิกา เกิดบาง, นรินทร สรวิทย์ศิรกุล
และรตนนภดล สมิตินันทน์. (2560). ปัจจัยด้านรูปแบบผลิตภัณฑ์และบรรจุภัณฑ์ที่ส่งผลต่อ
การตัดสินใจซื้อ กรณีศึกษา: เขื่อนรัชชประภา อุทยานแห่งชาติเขาสก จังหวัดสุราษฏร์ธานี.
วารสารวิจัยและพัฒนาวไลยอลงกรณ์ ในพระบรมราชูปถัมภ์ สาขามนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์,
(1), หน้า 137-147.
สำนักงานเศรษฐกิจอุตสาหกรรม. (2565). สรุปภาวะเศษฐกิจอุตสาหกรรมไทย (ออนไลน์). เข้าถึงได้จาก:
https://www.oie.go.th/assets/portals/1/fileups/2/files/Industry%20conditions/Q3-2565.pdf [2567, 20 มิถุนายน].
Andrews, J. C., & Shimp, T. A. (2018). Advertising, promotion, and other aspects of
integrated marketing communications (10th ed.). Australia: Cengage Learning.
Bigoin-Gagnan, A. & Lacoste-Badie, S. (2018). Symmetry influences packaging aesthetic evaluation
and purchase intention. International Journal of Retail & Distribution Management,
(11/12), pp. 1026-1040. https://doi.org/10.1108/IJRDM-06-2017-0123
Ebrahim, S., Akl, E. A., Mustafa, R. A., Sun, X., Walter, S. D., Heels-Ansdell, D., Alonso-Coello, P., Johnston, B. C. & Guyatt, G. H. (2013). Addressing continuous data for participants excluded from trial analysis: a guide for systematic reviewers. Journal of Clinical
Epidemiology, 66(9), pp. 1014-1021. https://doi.org/10.1016/j.jclinepi.2013.03.014
Gidwani, B. & Vyas, A. (2015). A comprehensive review on cyclodextrin-based carriers for
delivery of chemotherapeutic cytotoxic anticancer drugs. BioMed research
international, 2015(1), 198268. https://doi.org/10.1155/2015/198268
Imiru, G. A. (2021). Determinants of consumer’s buying behaviour of organic food products
in relation to the mediating role of consumer buying intention in ethiopia.
IOSR Journal of Business and Management, 23(8), pp. 1-17.
Mishra, A. K., Rath, B. N. & Dash, A. K. (2020). Does the Indian Financial Market Nosedive because
of the COVID-19 Outbreak, in Comparison to after Demonetisation and the GST?.
Emerging Markets Finance and Trade, 56(10), pp. 2162-2180.
https://doi.org/10.1080/1540496X.2020.1785425
Soenyoto, F. L. (2015). The impact of brand equity on brand preference and purchase
intention in Indonesia’s bicycle industry: A case study of Polygon. IBuss Management,
(2), pp. 99-108.
Stanley, U. N., Khadija, A. M., Bukola, A. T., Precious, I. O. & Davidson, E. A. (2020). Forensic
DNA profiling: autosomal short tandem repeat as a prominent marker in crime
investigation. The Malaysian journal of medical sciences: MJMS, 27(4), pp. 22-35.
https://doi.org/10.21315/mjms2020.27.4.3
Yamane, T. (1967). Statistics: An Introductory Analysis (2nd ed.). NY: Harper & Row.