การศึกษาคุณภาพทางประสาทสัมผัสของเครื่องดื่มชาดอกฟอร์เก็ตมีน็อตเลม่อน เสริมด้วยน้ำผึ้งหลวงเดือนห้า
คำสำคัญ:
ชาดอกฟอร์เก็ตมีน็อต, เลม่อน, น้ำผึ้งหลวง, เครื่องดื่ม, คุณภาพทางประสาทสัมผัสบทคัดย่อ
การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ ศึกษาการพัฒนาเครื่องดื่มชาดอกฟอร์เก็ตมีน็อตเลม่อนเสริมด้วยน้ำผึ้งหลวงเดือนห้า และศึกษาคุณภาพทางประสาทสัมผัสของเครื่องดื่มชาดอกฟอร์เก็ตมีน็อตเลม่อนเสริมด้วยน้ำผึ้งหลวงเดือนห้า การวิจัยนี้เป็นการวิจัยเชิงทดลอง โดยใช้แผนการทดลองแบบการสุ่มสมบูรณ์ (Completely randomized design) มีการตรวจสอบสูตรของเครื่องดื่มโดยผู้เชี่ยวชาญ จำนวน 5 ท่าน และมีการประเมินคุณภาพทางประสาทสัมผัสแบบ 9 คะแนน (9-Point Hedonic Scale) โดยให้ผู้บริโภคชิมเครื่องดื่ม จำนวน 50 คน วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติ คือ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน การวิเคราะห์ความแปรปรวนทางเดียว และการเปรียบเทียบเชิงซ้อนด้วยวิธี Duncan’s Multiple Range Test ผลการวิจัยพบว่า 1) เครื่องดื่มชาดอกฟอร์เก็ตมีน็อตเลม่อนเสริมด้วยน้ำผึ้งหลวงเดือนห้า นั้นจะมีส่วนประกอบของน้ำชาดอกฟอร์เก็ตมีน็อตเป็นส่วนใหญ่ และรองลงมาเป็นน้ำเลม่อน น้ำผึ้งเดือนห้า น้ำเชื่อม และโซดา ตามลำดับ 2) สูตรที่ 1 และสูตรที่ 3 ของเครื่องดื่มชาดอกฟอร์เก็ตมีน็อตเลม่อนเสริมด้วยน้ำผึ้งหลวงเดือนห้า มีคะแนนคุณภาพทางประสาทสัมผัสโดยรวมพอ ๆ กัน และมีคะแนนสูงกว่า สูตรที่ 2
References
จิราภรณ์ บุราคร, ปรานต์ ปิ่นทอง และมนทกานติ์ เอี่ยมแก้ว. (2565). การพัฒนาเครื่องดื่มเวย์โปรตีนเพื่อสุขภาพ.
วารสารวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี, 24(1), หน้า 54-61.
ชลาธร จูเจริญ, พชรธิดา ชมภูทา, สุภาภรณ์ เลิศศิริ และสหภาพ ศรีโท. (2564). การผลิตชาตามเกษตรที่ดี
สำหรับใบชาสดของเกษตรกรผู้ผลิตชาในพื้นที่มูลนิธิโครงการหลวง จังหวัดเชียงใหม่.
วารสารวิทยาศาสตร์และนวัตกรรมเกษตร, 52(2), หน้า 202-212.
ธนกิจ ถาหมี และพิไลรักษ์ อินธิปัญญา. (2555). การพัฒนาสูตรเครื่องดื่มน้ำหม่อน (Murus alba L.)
สกัดผสมน้ำผึ้ง. วารสารวิชาการเกษตร, 30(3), หน้า 274-289.
ธรรมนิตย์ ชำนาญ. (2556). คัมภีร์ยาสมุนไพรไทย : ตำรับหมอพร กรมหลวงชุมพรเขตอุดมศักดิ์ (พิมพ์ครั้งที่ 2).
กรุงเทพฯ: ไทยควอลิตี้บุ๊คส์.
นิภาพร กุลณา, กรวุฒิ มงคล, ปานสิน แก้วบุญเรือง, ณัฐพร สุยะวาณิชย์ และปรานปรียา สิทธิ์ขันแก้ว. (2564).
ผลของการเสริมเส้นใยอาหารจากผงเปลือกมังคุดต่อคุณภาพทางประสาทสัมผัสของชิฟฟ่อนเค้ก
น้ำมังคุด. วารสารวิจัยและนวัตกรรมการอาชีวศึกษา, 5(1), หน้า 53-61.
พิมพ์ชนก พริกบุญจันทร์. (2555). การศึกษากระบวนการผลิตเครื่องดื่มจากตะไคร้ผสมใบเตย.
Rajabhat Journal of Sciences, Humanities and Social Sciences, 13(1), หน้า 27-33.
มนรดา ฉัตราธรรม. (2557). เครื่องดื่มเพื่อสุขภาพ คุณประโยชน์สูงสุด และทำเป็นธุรกิจทำเงินได้จริง!.
(พิมพ์ครั้งที่ 2). กรุงเทพฯ: วิทยสถาน.
เมดไทย. (2563). เลมอน สรรพคุณและประโยชน์ของเลมอน 22 ข้อ ! (Lemon) (ออนไลน์). เข้าถึงได้จาก:
https://medthai.com/%E0%B9%80%E0%B8%A5%E0%B8%A1%E0%B8%AD%E0%B8%99/
, 31 มกราคม].
ศธิธร ปุรินทราภิบาล และสุพัตรา พูลพืชชนม์. (2563). ผลของกระบวนการผลิตชาต่อคุณภาพและฤทธิ์
ต้านอนุมูลอิสระของชาเปลือกฟักข้าว. วารสารวิชาการ มทร. สุวรรณภูมิ (มนุษยศาสตร์และ
สังคมศาสตร์), 8(1), หน้า 28-38.
สำนักพิมพ์บ้านและสวน. (2563). ไชนิสฟอร์เก็ตมีน็อต (ออนไลน์). เข้าถึงได้จาก:
https://www.baanlaesuan.com/plants/biennial/213517.html [2567, 31 มกราคม].
สำนักส่งเสริมการค้าสินค้าเกษตรและอุตสาหกรรม. (2565). เครื่องดื่ม (ทุกประเภท) (ออนไลน์). เข้าถึงได้จาก:
https://www.ditp.go.th/contents_attach/780271/780271.pdf [2567, 31 มกราคม].
สิริวัฒน์ วงษ์ศิริ. (2530). ผึ้งและน้ำผึ้ง. กรงเทพฯ: ศึกษาภัณฑ์พาณิชย์.
สุนิสา มามาก, สุรีรัตน์ เยี่ยมตระกูล, และอังคเณ บุญเกิด. (2565). การพัฒนาเครื่องดื่ม จำหน่ายเชิงพาณิชย์
แบบร้านหน้าฟาร์ม สหกรณ์โคนมไทย-เดน มาร์คห้วยสัตว์ใหญ่ จำกัด. วารสารวิชาการ การจัดการ
ภาครัฐและเอกชน, 4(2), หน้า 112-122.
หมอชาวบ้าน. (2563). น้ำผึ้ง ดีต่อสุขภาพ (ออนไลน์). เข้าถึงได้จาก: https://www.thaihealth.or.th/
น้ำผึ้ง-ดีต่อสุขภาพ-2/ [2567, 31 มกราคม].
Chaikham, P., Kemsawasd, V. & Apichartsrangkoon, A. (2016). Effects of conventional and
ultrasound treatments on physicochemical properties and antioxidant capacity of
floral honeys from Northern Thailand. Food Bioscience, (15), pp. 19-26.
https://doi.org/10.1016/j.fbio.2016.04.002
Gacula Jr, M. & Rutenbeck, S. (2006). Sample size in consumer test and descriptive analysis.
Journal of sensory studies, 21(2), pp. 129-145.
K@Pook!. (2564). น้ำส้มคั้นสด สูตรไม่ใส่น้ำตาลทำง่ายสุดเฮลธ์ตี้ (ออนไลน์). เข้าถึงได้จาก:
https://cooking.kapook.com/view242815.html [2567, 1 มิถุนายน].
Majtan, J., Bucekova, M., Kafantaris, I., Szweda, P., Hammer, K. & Mossialos, D. (2021).
Honey antibacterial activity: A neglected aspect of honey quality assurance as
functional food. Trends in Food Science & Technology, (118) Part B, pp. 870-886.
https://doi.org/10.1016/j.tifs.2021.11.012
Singh Dhillon, G., Kaur Brar, S., Verma, M. & Tyagi, R. D. (2011). Recent advances in citric acid
bio-production and recovery. Food and Bioprocess Technology, 4, pp. 505-529.
https://doi.org/10.1007/s11947-010-0399-0
Wichchukit, S. & O'Mahony, M. (2015). The 9-point hedonic scale and hedonic ranking in food
science: some reappraisals and alternatives. Journal of the Science of Food and
Agriculture, 95(11), pp. 2167-2178.
Wijngaarden, E. (2015). Story behind the Name of This Flower: Forget Me Not (Myosotis)
(Online). Available: https://skonson.com/story-behind-the-name-of-this-flower-
forget-me-not-myosotis/ [2024, January 31].