ปัจจัยที่ส่งผลต่อการเลือกเข้าศึกษาในมหาวิทยาลัยราชภัฏรำไพพรรณี

Main Article Content

อมรรัตน์ เลขกาญจน์
เฉลิมวุฒิ ทองสีดา
นาคนิมิตร อรรคศรีวร
สิริลักษณ์ เจริญสุข

บทคัดย่อ

การวิจัยนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาปัจจัยที่ส่งผลต่อการเลือกศึกษาในมหาวิทยาลัยราชภัฏรำไพพรรณี โดยกลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัยครั้งนี้ ได้แก่ ผู้สมัครเรียนในมหาวิทยาลัยราชภัฏ       รำไพพรรณี ระดับปริญญาตรี โดยเป็นผู้มีสิทธิ์เข้าศึกษาและขึ้นทะเบียนนักศึกษาเรียบร้อยแล้ว ประจำปีการศึกษา 2563 จำนวนประมาณ 400 คน ทั้งนี้คณะผู้วิจัยกำหนดขนาดของกลุ่มตัวอย่าง   โดยใช้ความน่าจะเป็น ด้วยวิธีการสุ่มแบบหลายขั้นตอน (Multistage Sampling) และได้ใช้แบบสอบถามเป็นเครื่องมือในการเก็บรวบรวมข้อมูล และนำเสนอข้อมูลในรูปแบบของข้อมูลค่าเฉลี่ย (Mean) และค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน (Standard Deviation : S.D.)


ผลการวิจัยพบว่า ปัจจัยที่ส่งผลต่อการเลือกศึกษาในมหาวิทยาลัยราชภัฏรำไพพรรณี ทั้ง 5 ด้าน ได้แก่ 1.ด้านภาพลักษณ์ของมหาวิทยาลัย 2.ด้านหลักสูตร 3.ด้านการจัดการเรียนการสอน 4.ด้านการประชาสัมพันธ์ 5.ด้านอื่น ๆ มีค่าเฉลี่ยอยู่ในระดับมาก ซึ่งแสดงให้เห็นว่าปัจจัยทั้ง 5 ด้าน   มีผลต่อการเลือกศึกษาในมหาวิทยาลัยราชภัฏรำไพพรรณี

Article Details

บท
บทความวิจัย

References

กิตติชัย เกษมศานติ์. (2556). ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการเลือกมหาวิทยาลัยรัฐบาลของนักเรียนมัธยมศึกษาตอนปลายในกรุงเทพมหานคร. วารสารวิชาการคณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ สจล. มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง, 16(1), 189 - 202.

เกรียงศักดิ์ แสงจันทร์. (2549). ปัจจัยที่มีผลต่อการตัดสินใจเลือกเข้าศึกษาต่อหลักสูตรรัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต วิทยาลัยการบริหารรัฐกิจ มหาวิทยาลัยบูรพา. [วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต ไม่ได้ตีพิมพ์]. มหาวิทยาลัยบูรพา.

เกรียงศักดิ์ เจริญวงศ์ศักดิ์, (2550, 10 มีนาคม). อัตราการเกิดลดมหาวิทยาลัยไทยจะอยู่รอดได้อย่างไรhttp://www.kriengsak.com/node/975.

ไกรสิงห์ สุดสงวน. (2560). ปัจจัยที่มีผลต่อการศึกษาต่อในระดับอุดมศึกษาของนักเรียนมัธยมศึกษาตอนปลาย โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยศิลปากร. [วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต ไม่ได้ตีพิมพ์]. มหาวิทยาลัยศิลปากร.

เชาวนี แก้วมโน สุจิตรา จรจิตร และเรวดี กระโหมวงศ์. (2559). องค์ประกอบที่มีอิทธิพลต่อการตัดสินใจเข้าศึกษาต่อระดับปริญญาตรีของนักศึกษาในสถาบันอุดมศึกษาเอกชนเขตภาคใต้. วารสารมหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา, 11(2), 15-30.

ณัชชา สุวรรณวงศ์. (2560). ปัจจัยที่ส่งผลต่อการตัดสินใจเลือกเข้าศึกษาต่อระดับปริญญาตรีในมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน นครราชสีมา (ระบบโควตา) ประจำปีการศึกษา 2560. มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน.

ดลธร เพ็ชรณสังกุล. (2556). ปัจจัยการสื่อสารทางการตลาดที่มีผลต่อการตัดสินใจเลือกศึกษาต่อสาขาวิชาการสื่อสารการตลาดที่มีผลต่อการตัดสินใจเลือกศึกษาต่อสาขาวิชาการสื่อสารดิจิทัล มหาวิทยาลัยแม่โจ้ จังหวัดเชียงใหม่. [วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต ไม่ได้ตีพิมพ์]. มหาวิทยาลัยแม่โจ้.

ธนกฤต ยืนยงเดชา. (2554). ปัจจัยที่มีผลต่อการเลือกเรียนศึกษาต่อระดับอุดมศึกษา มหาวิทยาลัยเชียงใหม่เป็นอันดับหนึ่งของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาตอนปลายในเขตอำเภอ เมืองจังหวัดเชียงใหม่. [วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต ไม่ได้ตีพิมพ์]. มหาวิทยาลัยเชียงใหม่.

ธนวรรณ รักอู่. (2557). การตัดสินใจเข้าศึกษาต่อในมหาวิทยาลัยราชภัฏกาญจนบุรี ของนักศึกษาภาคปกติ ปีการศึกษา 2556. [วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต ไม่ได้ตีพิมพ์]. มหาวิทยาลัยราชภัฏกาญจนบุรี.

ธันยากร ช่วยทุกข์เพื่อน (2558). ปัจจัยที่มีผลต่อการเลือกเรียนในระดับอุดมศึกษาที่มหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย์ของนักศึกษาระดับปริญญาตรี. [วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต ไม่ได้ตีพิมพ์]. มหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย์.

ธีระ จิตต์หาญ, และคนอื่นๆ (2562). ปัจจัยที่ส่งผลต่อการตัดสินใจเข้าศึกษาต่อระดับปริญญาตรี สาขาวิชาการจัดการทั่วไป คณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฏกำแพงเพชร. ในการประชุมวิชาการระดับชาติ ครั้งที่ 6 สถาบันวิจัยและพัฒนา มหาวิทยาลัยราชภัฏกำแพงเพชร 20 ธันวาคม 2562 (หน้า 390). กำแพงเพชร : มหาวิทยาลัยราชภัฏกำแพงเพชร

น้ำฝน ลูกค้า. (2555). ความต้องการและความคาดหวังของนักเรียนมัธยมศึกษาตอนปลายต่อการเลือกศึกษาต่อในมหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา. [วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต ไม่ได้ตีพิมพ์]. มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา.

บุญชัย รุ้งวริิยะวงค์. (2556). ปัจจัยที่ส่งผลต่อการตัดสินใจเลือกเข้าศึกษาต่อหลักสูตรรัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต วิทยาลัยทองสุข. [วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต ไม่ได้ตีพิมพ์]. วิทยาลัยทองสุข.

ผ่องใส สินธุสกุล และพงษ์สันติ์ ตันหยง. (2561). ปัจจัยที่ส่งผลต่อการตัดสินใจเลือกเข้าศึกษาต่อระดับปริญญาตรีคณะวิทยาการจัดการของนักศึกษามหาวิทยาลัยราชภัฏนครปฐม. ในงานประชุมวิชาการระดับชาติครั้งที่ 10 มหาวิทยาลัยราชภัฏนครปฐม วันที่ 29 – 30 มีนาคม พ.ศ. 2561 (หน้า 745 - 754). มหาวิทยาลัยราชภัฏนครปฐม.

ภัทรสุดา จารุธีรพันธุ์. (2554). ปัจจัยที่มีผลต่อการเลือกเรียนสาขาวิชาในระดับปริญญาตรี คณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฏเลย. [วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต ไม่ได้ตีพิมพ์]. มหาวิทยาลัยราชภัฏเลย.

มหาวิทยาลัยราชภัฏรำไพพรรณี. (2561, 10 มีนาคม). เกี่ยวกับเรา. http://www.rbru.ac.th.

มีสิทธิ ชัยมณี. (2559). ปัจจัยที่มีผลต่อการตัดสินใจเลือกศึกษาต่อระดับปริญญาตรี คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยปทุมธานี. [วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต ไม่ได้ตีพิมพ์]. มหาวิทยาลัยปทมธานี.

มีสิทธิ์ ชัยมณี (2559). ปัจจัยที่มีผลต่อการตัดสินใจเลือกศึกษาต่อระดับปริญญาตรี คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยปทุมธานี. [วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต ไม่ได้ตีพิมพ์]. มหาวิทยาลัยปทุมธานี.

เมธาวี สุขปาน. (2556). ปัจจัยที่มีผลต่อการตัดสินใจเลือกศึกษาต่อในหลักสูตรระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง (ปวส.) ของนักเรียน กรณีศึกษาวิทยาลัยพณิชยการธนบุรี. [วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต ไม่ได้ตีพิมพ์]. มหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย์.

รัชตนันท์หมั่นมานะและรุจาภา แพ่งเกษร. (2557). ปัจจัยที่มีผลต่อการตัดสินใจเลือกศึกษาต่อในระดับบัณฑิตศึกษาของมหาวิทยาลัยกรุงเทพ. วารสารการเงินการลงทุนการตลาดและการบริหารธุรกิจ, 4(2), 627-639.

ลัชชา ชุณห์วิจิตรา และณัฐวรรณ ครุฑสวัสดิ์. (2560). ปัจจัยที่มีผลต่อการตัดสินใจเลือกศึกษาใน หลักสูตรทันตแพทยศาสตรบัณฑิต (หลักสูตรนานาชาติ) คณะทันตแพทยศาสตร์มหาวิทยาลัยมหิดล. วารสาร Mahidol R2R e-Journal, 3 (1), 111- 123.

วิรัช ลภิรัตนกลุ. (2540). การประชาสัมพันธ์ฉบับสมบูรณ์. จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

สายัณห์ โสธะโร. (2559). การศึกษาปัจจัยที่มีผลต่อการตัดสินใจเลือกเข้าศึกษาต่อระดับปริญญาตรีในคณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ. วารสารวิทยาศาสตร์มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ, 32(2), 257-276

เสรี สิงห์โงน และสาลินี จันทร์เจริญ. (2561). ปัจจัยที่มีผลต่อการตัดสินใจเลือกเข้าศึกษาต่อหลักสูตรวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาจิตวิทยาเด็กวัยรุ่นและครอบครัว มหาวิทยาลัยมหิดล.[วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต ไม่ได้ตีพิมพ์]. มหาวิทยาลัยมหิดล.

เสรี วงษ์มณฑา. (2540). การประชาสัมพันธ์เชิงปฏิบัติ. บริษัท เอ.เอ็น. การพิมพ์.

สุชัชวีร์ สุวรรณสวัสดิ์. (2561, 10 มีนาคม). มหาวิทยาลัยควรจะมีการปรับตัวอย่างมาก. https://www.thaipost.net/main/detail/24918.

สมศรี เพชรโชติ. (2560). ปัจจัยที่มีผลต่อการตัดสินใจเลือกเข้าศึกษาต่อหลักสูตรคหกรรมศาสตร์ คณะศีกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยรามคำแหง. [วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต ไม่ได้ตีพิมพ์]. มหาวิทยาลัยรามคำแหง.

อภิชัจ พุกสวัสดิ์. (2555). การสำรวจภาพลักษณ์ของมหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ : ศึกษากรณี 25 โรงเรียนมัธยมศึกษาตอนปลายในจังหวัดสมุทรปราการ. วารสารการประชาสัมพันธ์และการโฆษณา, 5(2), 12- 25.

อุดม คชินทร. (2561,10 มีนาคม). นโยบายการศึกษาไทยยุคเศรษฐกิจดิจิทัล 4.0. https://mgronline.com/daily/detail/9610000128683.

Krejcie, R. V. & Morgan, D. W. (1970). Determining Sample Size for Research Activities. Educational and Psychological Measurement, 30(3), 607-610.

Oppenheim, A.N. (1966). Questionnaire design and attitude measurement. Basic Book.

Simon, H. A. (1960). The New Science of Management Decision. Harper & Row.