Participation of Local Community in Coastal Resources Management at Don Hoi Lot Wetland in Samutsongkhram Province
Main Article Content
Abstract
This research aims to study the level of participation of local community in the conservation and management of coastal resources at Don Hoi Lotwell and in Samutsongkhram Province.The data was analyzed by percentage, mean, standard deviation and one-way ANOVA. It was found that there was a high level of community involvement on wetland conservation and management,with Physical involvement,emotional involvement and sense of belonging are the high level, while intellectual involvement was found to be the low level and the most significant factor for the loss of biodiversity in both mangrove and mudflat areas was from industrial discharges due to the economic growth in those areas.
Article Details
บทความที่ได้รับการตีพิมพ์เป็นลิขสิทธิ์ของวารสารมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ นายเรืออากาศ
ข้อความที่ปรากฎในบทความแต่ละเรื่องในวารสารวิชาการเล่มนี้ เป็นความคิดเห็นส่วนตัวของผู้เขียนแต่ละท่าน ไม่เกี่ยวข้องกับโรงเรียนนายเรืออากาศฯ และคณาจารย์ท่านอื่น ๆในโรงเรียนนายเรืออากาศฯ แต่อย่างใด ความรับผิดชอบขององค์ประกอบทั้งหมดของบทความแต่ละเรื่องเป็นของผู้เขียนแต่ละท่าน หากมีความผิดพลาดใด ๆ ผู้เขียนแต่ละท่านจะรับผิดชอบบทความของตนเองแต่เพียงผู้เดียว
References
กัลยาณี พรพิเนตพงศ์. 2550.มูลค่าและความสำคัญของชายหาด เอกสารประกอบการสัมมนาทางวิชาการเรื่องชายฝั่งทะเล: คุณค่า ปัญหาและการฟื้นฟู, 20-22 มิถุนายน 2550, ณ กรมทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่ง
เกษราภรณ์ อุ่นเกิด, พสุธา สุนทรห้าว และลดาวัลย์ พวงจิตร. 2557.การประเมินมูลค่าคาร์บอนที่กักเก็บในไม้ยืนต้นของป่าชุมชนเขาวง จังหวัดชัยภูมิ.วารสารวนศาสตร์ 34 (1): 29-38 (2558)
จันทรา ลิ้นจี่. 2552. การศึกษาระดับความเข้มแข็งของบุคคลในชุมชนชนบทไทย กรณีศึกษา ชุมชนชาวแพรกหนามแดง.อำเภออัมพวา จังหวัดสมุทรสงคราม. วิทยานิพนธ์ปริญญาศิลปศาสตร์มหาบัณฑิต, สาขาวิชาการจัดการภาครัฐและภาคเอกชน บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศิลปากร.
จิตรา เดชโคบุตร. 2551. มูลค่าจากการใช้ประโยชน์ของป่าชายเลนอ่าวทุ่งคา-สวี จังหวัดชุมพร. ปริญญาวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต (การจัดการทรัพยากร) สาขาการจัดการทรัพยากร โครงการสหวิทยาการระดับบัณฑิตศึกษา มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์.
ญดาศจี ระเบียบกุล.2553ความเข้มแข็งของประชาชนในการอนุรักษ์สิ่งแวดล้อม กรณีศึกษา ตลาดน้ำอัมพวา ตำบลอัมพวา อำเภออัมพวา จังหวัดสมุทรสงคราม วิทยานิพนธ์ปริญญาศิลปศาสตร์มหาบัณฑิต, สาขาวิชาการจัดการภาครัฐและภาคเอกชน บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศิลปากร.
ณัฐวัฒน์ โต๊ะงาม. 2557. ปัจจัยที่ส่งผลต่อสิ่งแวดล้อมของพื้นที่ชุ่มน้ำสำคัญระหว่างประเทศ : กรณีศึกษา พื้นที่ชุ่มน้ำดอนหอยหลอด จังหวัดสมุทรสงคราม. วิทยานิพนธ์วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต (การจัดการสิ่งแวดล้อม), สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์.
พิมพ์ธิรา อินทร. 2556. แนวทางพัฒนาการจัดการแหล่งท่องเที่ยวศูนย์ศึกษาธรรมชาติและอนุรักษ์ป่าชายเลน เพื่อการท่องเที่ยวเชิงนิเวศ จังหวัดชลบุรี วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิตสาขาวิชาวิทยาศาสตร์การกีฬา จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
ภัทรกันย์ นาคะวรพันธุ์. 2556. การประเมินมูลค่าแนวปะการังบริเวณเกาะเสม็ด จังหวัดระยองภาคนิพนธ์เศรษฐศาสตรมหาบัณฑิต(เศรษฐศาสตร์ธุรกิจ)คณะพัฒนาการเศรษฐกิจ สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์.
มณฑรพ กากแก้ว. 2554 อนุสัญญาว่าด้วยพื้นที่ชุ่มน้ำ:ความสำคัญ ลำดับความเป็นมา และภารกิจที่เกี่ยวข้องกับกรมประมง กรุงเทพฯ
รุ่งทิพย์ บำรุงสุข. 2555.ปัจจัยที่ส่งผลต่อการจัดการสิ่งแวดล้อม:กรณีศึกษาเขตลุ่มแม่น้ำกลอง อำเภอเมือง จังหวัดสมุทรสงคราม สารนิพนธ์ปริญญาบริหารธุรกิจมหาบัณฑิตคณะบริหารธุรกิจ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี
วันชัย ธรรมสัจการ. การเสริมสร้างพลังทางจิตวิทยากับการทำงานในองค์กร. วารสารมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ ฉบับมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ 6, 2 (พฤษภาคม-สิงหาคม 2543): 186-201
สุธรรม รัตนโชติ. การจัดการคุณภาพสมัยใหม่.1. กรุงเทพฯ:ท๊อป, 2553.
สุดใจ จิโรจน์กุล. 2544. การประยุกต์ใช้วิธีการสมมติเหตุการณ์ให้ประมาณค่า ในการประเมินมูลค่าป่าชายเลน ตำบลแหลมผักเบี้ย อำเภอบ้านแหลม จังหวัดเพชรบุรี. วิทยานิพนธ์ปริญญาวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต (วิทยาศาสตร์สิ่งแวดล้อม) สาขาวิชาวิทยาศาสตร์สิ่งแวดล้อม วิทยาลัยสิ่งแวดล้อม บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์.