Behaviors in Using Information for Education that Affects Students' Success in Education in Chainat Technical College

Main Article Content

นิสัย จันทร์เกตุ

Abstract

การศึกษาครั้งนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาและเปรียบเทียบการใช้งานสารสนเทศเพื่อการศึกษา จำแนกตามผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียนวิทยาลัยเทคนิคชัยนาท ผลการศึกษาพบว่า 1) นักเรียนของวิทยาลัยเทคนิคชัยนาทมีการใช้งานสารสนเทศเรียงลำดับมากไปหาน้อยผ่านทางสมาร์ทโฟน (โทรศัพท์) คอมพิวเตอร์พกพา เครื่องคอมพิวเตอร์ในที่พักอาศัย เครื่องคอมพิวเตอร์ที่โรงเรียนและทางเครื่องคอมพิวเตอร์ในร้านอินเตอร์เน็ต 2) ผลการวิเคราะห์การใช้งานสารสนเทศเพื่อการศึกษาของนักเรียนวิทยาลัยเทคนิคชัยนาทจำแนกตามผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนพบว่า ด้านการเรียนเนื้อหาแบบออนไลน์ การใช้งานสารสนเทศด้วยระบบสืบค้นเพื่อการศึกษา เช่น Google, Yahoo แตกต่างกันส่งผลต่อผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ 0.05 3) ผลการวิเคราะห์พฤติกรรมการใช้งานสารสนเทศของนักเรียนวิทยาลัย เทคนิคชัยนาทจำแนกตามผลสัมฤทธิ์การเรียนพบว่า ช่วงเวลาใช้งานสารสนเทศ แตกต่างกันส่งผลต่อผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ 0.05

Article Details

How to Cite
จันทร์เกตุ น. (2016). Behaviors in Using Information for Education that Affects Students’ Success in Education in Chainat Technical College. NKRAFA Journal of Humanities and Social Sciences, 4, 29–38. Retrieved from https://so04.tci-thaijo.org/index.php/KANNICHA/article/view/200904
Section
Research Articles

References

[1] เขมิกา กลิ่นเกสร.พฤติกรรมการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารเพื่อการศึกษาของนักศึกษาระดับปริญญาบัณฑิต คณะมัณฑนศิลป์มหาวิทยาลัยศิลปากร.วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต.กรุงเทพมหานคร: มหาวิทยาลัยศิลปากร, 2553.

[2] เดชดนัยจุ้ยชุม. การแสวงหาสารสนเทศเพื่อการศึกษาและการรู้สารสนเทศมาตรฐานที่เกี่ยวข้องกับการแสวงหาสารสนเทศของนักศึกษาในระดับปริญญาตรี มหาวิทยาลัยนราธิวาสราชนครินทร์. วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต, นราธิวาส: มหาวิทยาลัยนราธิวาสราชนครินทร์, 2555.

[3] ฐิติยา เนตรวงษ์. การศึกษาความพึงพอใจของนักศึกษาต่อการใช้อาคารสถานที่ของมหาวิทยาลัยราชภัฏสวนดุสิต.งานวิจัยคณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์.กรุงเทพมหานคร: มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนดุสิต, 2551.

[4] พรรณทิพา นาคคล้าย.ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อพฤติกรรมการเรียนรู้ด้วยตนเองของนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาฉะเชิงเทรา เขต 1 จังหวัดฉะเชิงเทรา. วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต. กรุงเทพมหานคร: มหาวิทยาลัยรามคำแหง, 2550.

[5]ลิขิต กาญจนาภรณ์.พื้นฐานพฤติกรรมมนุษย์.กรุงเทพมหานคร:มหาวิทยาลัยศิลปากร, 2525.

[6] สมใจ ศรีปานเงิน.ความต้องการใช้และการใช้ทรัพยากรสารนิเทศของผู้ใช้ห้องสมุดเฉพาะสังกัดสำนักนายกรัฐมนตรี.กรุงเทพมหานคร:มหาวิทยาลัยรามคำแหง,2540.

[7] สุรศักดิ์ ปาเฮ.เอกสารประกอบการอบรมเชิงปฏิบัติการครูผู้สอนภาษาอังกฤษการเรียนรู้แบบผสมผสาน Blended Learning.สถาบันพัฒนาบุคลากรท้องถิ่นองค์การบริหารส่วนจังหวัดแพร่, 2555.

[8] อรุณ รักธรรม.พฤติกรรมข้าราชการไทย.กรุงเทพมหานคร: มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์,2524.