ปัจจัยที่ส่งผลต่อความตั้งใจของข้าราชการ สังกัด กรมกำลังพลทหารอากาศ ในการปฏิบัติงานตามนโยบายรักษาความมั่นคงปลอดภัยที่เกี่ยวข้องกับ พ.ร.บ.คุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล พ.ศ.2562
Main Article Content
บทคัดย่อ
การวิจัยครั้งนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาปัจจัยที่ส่งผลต่อความตั้งใจของข้าราชการ สังกัด กรมกำลังพล
ทหารอากาศ ในการปฏิบัติงานตามนโยบายรักษาความมั่นคงปลอดภัยที่เกี่ยวข้องกับ พ.ร.บ.คุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล
พ.ศ.2562 โดยมีผู้ร่วมการศึกษาจำนวน 400 คน สถิติเชิงอนุมานที่ใช้ในการวิเคราะห์ ได้แก่ การวิเคราะห์การถดถอยเชิงพหุคูณ (Multiple regression) ผลการวิจัยพบว่า ตัวแปรอิสระ ได้แก่ ความรู้ ความรู้สึก พฤติกรรม การเลือกเปิดรับ การเลือกให้ความสนใจ การเลือกรับรู้และตีความหมาย และการเลือกจดจำ ซึ่งเป็น 7 มิติขององค์ประกอบ
ของเจตคติทั้ง 3 มิติ และด้านกระบวนการเปิดรับข่าวสารทั้ง 4 มิติ สามารถอธิบายความผันแปรของตัวแปรตาม คือ ความตั้งใจของข้าราชการ สังกัด กรมกำลังพลทหารอากาศ ในการปฏิบัติงานตามนโยบายรักษาความมั่นคงปลอดภัย
ที่เกี่ยวข้องกับ พ.ร.บ.คุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล พ.ศ.2562 ได้ร้อยละ 85.4 พบว่า องค์ประกอบของเจตคติ ได้แก่ ความรู้ของข้าราชการมีผลมากที่สุดต่อความตั้งใจของข้าราชการ สังกัด กรมกำลังพลทหารอากาศ ในการปฏิบัติงานตามนโยบายรักษาความมั่นคงปลอดภัยที่เกี่ยวข้องกับ พ.ร.บ.คุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล พ.ศ.2562 รองลงมาคือ
ด้านกระบวนการเปิดรับข่าวสาร ได้แก่ การเปิดรับข่าวสาร การเลือกจดจำ การเลือกเปิดรับ และการเลือกรับรู้
และตีความหมาย ตามลำดับ
Article Details

This work is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International License.
บทความที่ได้รับการตีพิมพ์เป็นลิขสิทธิ์ของวารสารมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ นายเรืออากาศ
ข้อความที่ปรากฎในบทความแต่ละเรื่องในวารสารวิชาการเล่มนี้ เป็นความคิดเห็นส่วนตัวของผู้เขียนแต่ละท่าน ไม่เกี่ยวข้องกับโรงเรียนนายเรืออากาศฯ และคณาจารย์ท่านอื่น ๆในโรงเรียนนายเรืออากาศฯ แต่อย่างใด ความรับผิดชอบขององค์ประกอบทั้งหมดของบทความแต่ละเรื่องเป็นของผู้เขียนแต่ละท่าน หากมีความผิดพลาดใด ๆ ผู้เขียนแต่ละท่านจะรับผิดชอบบทความของตนเองแต่เพียงผู้เดียว
References
นิธิภักดิ์ กทิศาสตร์ และคณะ. (2565). กลยุทธ์การพัฒนาการจัดการศึกษาแบบบูรณาการระหว่างการทำงานกับการ
เรียนการสอน สำหรับหลักสูตรธุรกิจดิจิทัล. วารสารมหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคาม, 16(1), 185-195.
นงลักษณ์ จิตต์อารีย์. (2562). การเปิดรับข่าวสาร ความรู้ และภาพลักษณ์กองทัพเรือ ของผู้ใช้เฟซบุ๊กแฟนเพจ
กองประชาสัมพันธ์ สำนักงานเลขานุการกองทัพเรือ. สารนิพนธ์นิเทศศาสตรมหาบัณฑิต สาขานิเทศศาสตร์,
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
พระราชบัญญัติคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล พ.ศ.2562. (28 พฤษภาคม 2562). ราชกิจจานุเบกษา. เล่ม 136 ตอนที่ 69 ก.
ราชบัณฑิตยสถาน. (2556). พจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. 2554.
สำนักงานคณะกรรมการดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ. (2566). สดช. เปิดเผยการสำรวจ Thailand Digital
Outlook ปีที่ 5 เผยตัวเลขการพัฒนาดิจิทัล ของประเทศ เน้นย้ำการพัฒนาดิจิทัลของประเทศ มุ่งเป้าให้ไทย
ทัดเทียมกับนานาประเทศ. https://www.onde.go.th/view/1/รายละเอียดข่าว/ข่าวทั้งหมด/2091/TH-TH
สุนทรีย์ ส่งเสริม. (2564). ผลกระทบที่เกิดจากการบังคับใช้พระราชบัญญัติคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล พ.ศ.2562.
วารสารสังคมศาสตร์และมานุษยวิทยาเชิงพุทธ, 7(6), 556-574.
อรวรรณ ปิลันธน์โอวาท. (2546). การสื่อสารเพื่อการโน้มน้าวใจ. สำนักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
Daniel Katz. (1960). The Functional Approach to the Study of Attitudes, JSTOR Journal, 24(2), 163-191.
Campbell, D. T., & Fiske, D. W. (1959). Convergent and discriminant validation by the multitrait-
multimethod matrix. Psychological Bulletin, 56(2), 81-105. https://doi.org/10.1037/h0046016
Cronbach, L. J. (1951). Coefficient alpha and the internal structure of tests. Psychometrika, 16, 297-
https://doi.org/10.1007/BF02310555
Fleur, De and L. Melvin. (1970). Theories of Mass Communication. David Mckay Company Inc.
Gordon Willard Allport. (1975). The Nature of Personality: Selected Papers. Greenwood Press.
Hair, J.F., Black, W.C., Babin, B.J. and Anderson, R.E. (2010). Multivariate Data Analysis (7th ed).
Pearson.
Philip G. Zimbardo, Ebbe B. Ebbesen and Christina Maslach. (1977). Influencing Attitudes and
Changing Behavior. Addison-Wesley Publishing Company Inc.
Klapper, J. T. (1960). The effects of mass communication. Free Press.
Kline, R.B. (2011). Principles and Practice of Structural Equation Modeling. Guilford Press.
Mcleod & O'Keefe. (1972). Socialization Perspective; Current Perspectives in Mass. Sage Publication.
Milton J. Rosenberg and Carl I. (1960). Attitude Organization and Change: An Analysis of Consistency among
Attitude Components. Yale University Press.
Nunnally, J.C. (1978). Psychometric theory (2nd ed). McGraw-Hill.
Rogers, E. (1978). Mass Media and Interpersonal Communication. College Publishing Company.
Schermerhorn, Hunt and Osborn. (1988). Organizational Behavior. John Wiley & Sons Inc.
Thorson & Wells. (2016). Curated Flows: A Framework for Mapping Media Exposure in the Digital
Age. Communication Theory, 26(3), 309-328. https://doi.org/10.1111/comt.12087
Trochim. (2001). Research Methods Knowledge Base. Atomic Dog Pub.
Wilber Schramm. (1960). Mass Communications: A Book of Readings. University of Illinois Press.
Yamane Taro. (1973). Statistics: An Introductory Analysis (3d ed). Harper and Row Publisher.