การศึกษาการเติบโตของเทคโนโลยีความเป็นจริงเสมือนและความเป็นจริงเสริม กับผลกระทบที่มีต่อเครือข่ายโทรศัพท์เคลื่อนที่ยุค 5 จี
คำสำคัญ:
ความเป็นจริงเสมือน, ความเป็นจริงเสริม, ความเป็นจริงผสม, เวลาหน่วงที่ต่ำมากบทคัดย่อ
การเติบโตในการประยุกต์ใช้เทคโนโลยี Virtual Reality และ Augmented Reality ในหลากหลายอุตสาหกรรมในปัจจุบันและการขยายตัวอย่างรวดเร็วในอนาคต ทำให้เกิดความต้องการด้านประสิทธิภาพจากเครือข่ายโทรศัพท์เคลื่อนที่ ทั้งในด้านของอัตราเร็วในการสื่อสาร และเวลาหน่วงในการสื่อสารข้อมูลที่ต่ำที่สุด เทคโนโลยีเครือข่ายโทรศัพท์เคลื่อนที่ 5G จึงได้รับการออกแบบมาเพื่อตอบรับการใช้งานดังกล่าว บทความเรื่องนี้นำเสนอความสอดคล้องทางเทคนิคระหว่างเทคโนโลยี Virtual Reality และ Augmented Reality กับขีดความสามารถด้านเทคนิคของเครือข่ายโทรศัพท์เคลื่อนที่ 5G โดยพิจารณาถึงการขยายตัวในเชิงเศรษฐกิจของเทคโนโลยีโลกเสมือนทั้ง 2 ชนิดนี้ในการเปรียบเทียบ
References
ABI Research (2017, February). Augmented and Virtual Reality: the First Wave of 5G Killer Apps. Retrieved from
apps.pdf
AT&T Foundry Where Idea Are Made (2017). Enabling Mobile Augmented and Virtual Reality with 5G Networks.
Retrieved from https://about.att.com/content/dam/innovationblogdocs/Enabling%20Mobile%20Augmented%
and%20Virtual%20Reality%20with%205G%20Networks.pdf
China Academy of Information and Communications Technology (2017, December). Virtual Reality / Augmented
Reality White Paper (2017). Retrieved from https://www-file.huawei.com/-/media/CORPORATE/PDF/ilab/vr-ar-en.pdf
Jason Jerald, Ph.D. (2016). The VR Book: Human-Centered Design for Virtual Reality, the Association for Computer
Machinery and Morgan & Claypool Publishers
Qualcomm Technologies Inc. (2017). VR and AR pushing connectivity limits. Retrieved from
https://www.qualcomm.com/media/documents/files/vr-and-ar-pushing-connectivity-limits.pdf
Downloads
เผยแพร่แล้ว
How to Cite
ฉบับ
บท
License
บทความที่ปรากฏในวารสารกิจการสื่อสารดิจิทัล เป็นลิขสิทธิ์ของสำนักงาน กสทช. ซึ่งสำนักงาน กสทช. เปิดโอกาสให้สาธารณะหรือบุคคลทั่วไปสามารถนำผลงานไปเผยแพร่ คัดลอก หรือตีพิมพ์ซ้ำได้ ภายใต้สัญญาอนุญาตแบบเปิด (Creative Commons: CC) โดยมีเงื่อนไขสำหรับผู้ที่นำผลงานไปใช้ต้องระบุอ้างอิงแหล่งที่มา (Attribution: BY) ห้ามดัดแปลง (NoDerivatives: ND) และต้องไม่ใช้เพื่อการค้า (NonCommercial: NC) เว้นแต่ได้รับอนุญาตเป็นลายลักษณ์อักษรจากสำนักงาน กสทช.
อนึ่ง ข้อความ ตาราง และภาพที่ปรากฏในบทความซึ่งได้รับการตอบรับให้ตีพิมพ์และเผยแพร่ในวารสารนี้เป็นความคิดเห็นของผู้นิพนธ์ โดยไม่ผูกพันต่อ กสทช. และสำนักงาน กสทช. หากมีความผิดพลาดใด ๆ ผู้นิพนธ์แต่ละท่านต้องรับผิดชอบบทความของตนเองแต่เพียงผู้เดียว ไม่เกี่ยวข้องกับ กสทช. และสำนักงาน กสทช. แต่ประการใด