การสำรวจทัศนคติและความต้องการของคนพิการทางการได้ยินหรือสื่อความหมายต่อการนำเสนอรายการโทรทัศน์ภายใต้การกำกับดูแลของ กสทช.

ผู้แต่ง

  • ศุภชัย เหมือนโพธิ์ คณะศิลปศาสตร์และวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตกำแพงแสน
  • กิตติพจน์ เพิ่มพูน คณะศิลปศาสตร์และวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตกำแพงแสน
  • ศิริเชษฐ์ สังขะมาน สถาบันวิจัยสังคม จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
  • สุทธิศานติ์ ชุ่มวิจารณ์ แผนกวิจัย บริษัท เจมส์เนิร์ด จำกัด
  • ศรวิชา กฤตาธิการ คณะศิลปศาสตร์และวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตกำแพงแสน
  • นพดล มโนสุทธิ แผนกวิจัย บริษัท เจมส์เนิร์ด จำกัด
  • ภาสกร พันธุ์พฤกษชาติ แผนกวิจัย บริษัท เจมส์เนิร์ด จำกัด
  • ทาริกา สระทองคำ คณะศิลปศาสตร์และวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตกำแพงแสน
  • ธนัชพร ถวิลผล ภาควิชาบริหารธุรกิจอุตสาหกรรม คณะบริหารธุรกิจ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ วิทยาเขตระยอง

คำสำคัญ:

คนพิการทางการได้ยินหรือสื่อความหมาย, เจตคติต่อรายการโทรทัศน์, การบริการการเข้าถึงเนื้อหา

บทคัดย่อ

การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์ 3 ข้อ ได้แก่ 1) เพื่อทราบถึงความคิดเห็นและความต้องการของคนพิการทางการได้ยินและการสื่อความหมายที่มีต่อรายการโทรทัศน์ภายใต้การกำกับดูแลของ กสทช. 2) เพื่อนำผลการสำรวจที่ได้จัดทำข้อเสนอแนะเชิงนโยบาย มอบแก่ กสทช. เพื่อใช้ประโยชน์ในการออกนโยบาย ปรับปรุงเนื้อหาและรูปแบบรายการโทรทัศน์เพื่อให้เหมาะสมกับผู้บริโภคที่มีความพิการทางการได้ยินและการสื่อความหมาย 3) เพื่อเสริมสร้างความรับผิดชอบต่อสังคมของสำนักงาน กสทช. ในการกระตุ้นและสร้างจิตสำนึกของผู้ผลิตรายการโทรทัศน์ต่อกลุ่มผู้บริโภคที่เป็นคนพิการทางการได้ยินและการสื่อความหมาย การวิจัยครั้งนี้ใช้วิธีวิจัยแบบผสม โดยเก็บข้อมูลเชิงปริมาณโดยการใช้แบบสอบถาม จำนวน 2,023 คน และเก็บข้อมูลเชิงคุณภาพโดยการสัมภาษณ์จำนวน 39 คน วิเคราะห์ข้อมูลเชิงปริมาณโดยการวิเคราะห์สถิติเชิงพรรณนา และโมเดลสมการโครงสร้าง วิเคราะห์ข้อมูลเชิงคุณภาพด้วยการวิเคราะห์เนื้อหา ผลการวิจัยพบว่า เจตคติต่อรายการโทรทัศน์ภายใต้การกำกับดูแลของ กสทช. มีค่าเฉลี่ยอยู่ในระดับปานกลาง และพบว่าการบริการการเข้าถึงเนื้อหา คุณค่าแบรนด์ของสื่อ และความน่าเชื่อถือมีอิทธิพลโดยรวมต่อเจตคติ  การปรับปรุงรูปแบบของรายการควรเน้นการบริการการเข้าถึงสื่อ โดยเฉพาะในส่วนของการบริการล่ามภาษามือที่คนพิการทางการได้ยินหรือสื่อความหมาย

References

กระทรวงพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์. (2561). จำนวนคนพิการในประเทศไทย. ค้นเมื่อ 20 กันยายน 2561, จาก https://www.egov.go.th/th/government-agency/46/.

กนิษฐา รัตนสินธุ์. (2560). สมรรถนะล่ามภาษามือไทยที่แปลในรายการข่าวโทรทัศน์. สารนิพนธ์มหาบัณฑิต, สาขาสื่อสารมวลชน, มหาวิทยาลัยรามคำแหง.

ประกาศคณะกรรมการกิจการกระจายเสียง กิจการโทรทัศน์ และกิจการโทรคมนาคมแห่งชาติ เรื่องการส่งเสริมและคุ้มครองสิทธิของคนพิการให้เข้าถึงหรือรับรู้และใช้ประโยชน์จากรายการของกิจการโทรทัศน์ พ.ศ. 2559. (2559, 5 กุมภาพันธ์). ราชกิจจานุเบกษา.

เล่ม 133 ตอนพิเศษ 35 ง.

ประกาศคณะกรรมการกิจการกระจายเสียง กิจการโทรทัศน์ และกิจการโทรคมนาคมแห่งชาติ เรื่องแนวทางการจัดทำล่ามภาษามือ คำบรรยายแทนเสียง และเสียงบรรยายภาพ พ.ศ. 2560. (2560, 27 ธันวาคม). ราชกิจจานุเบกษา. เล่ม 134 ตอนพิเศษ 322 ง.

ประกาศคณะกรรมการกิจการกระจายเสียง กิจการโทรทัศน์ และกิจการโทรคมนาคมแห่งชาติ เรื่องแนวทางการจัดทำล่ามภาษามือ คำบรรยายแทนเสียง และเสียงบรรยายภาพ เรื่องหลักเกณฑ์และวิธีการปฏิบัติงานของผู้ประกอบกิจการกระจายเสียงและกิจการโทรทัศน์ในกรณีเกิดภัยพิบัติหรือเหตุฉุกเฉิน พ.ศ. 2551. (2551, 1 ตุลาคม). เล่ม 129 ตอนพิเศษ 159 ง.

As' ad, H. A. R., & Alhadid, A. Y. (2014). The impact of social media marketing on brand equity: An empirical study on mobile service providers in Jordan. Review of Integrative Business and Economics Research, 3(1), 315.

ASEAN Community. (2018). ASEAN Enabling Masterplan 2025: Mainstreaming the Rights of Persons with Disabilities. Retrieved from https://asean.org/storage/2018/11/ASEAN-Enabling-Masterplan-2025-Mainstreaming-the-Rights-of-Persons-with-Disabilities.pdf. (29-3-2019).

Cacioppo, J. T., & Berntson, G. G. (1994). Relationship between attitudes and evaluative space: A critical review, with emphasis on the separability of positive and negative substrates. Psychological bulletin, 115(3), 401.

Calvo-Porral, C., Martínez-Fernández, V. A., & Juanatey-Boga, O. (2014). Mass communication media credibility: an approach from the Credible Brand Model. Intercom: Revista Brasileira de Ciências da Comunicação, 37(2),

-49.

Delgado-Ballester, E., & Fernandez Sabiote, E. (2015). Brand experimental value versus brand functional value: which matters more for the brand?. European Journal of Marketing, 49(11/12), 1857-1879.

Ellis, K., & Kent, M. (2015). Accessible television: The new frontier in disability media studies brings together industry innovation, government legislation and online activism. First Monday, 20(9), 419-431.

Federal Communications Commission. (2018). Closed Captioning on Television. retrieved October 2, 2019, from: https://www.fcc.gov/consumers/guides/closed-captioning-television.

Hwang, J., & Lee, K. W. (2018). The antecedents and consequences of golf tournament spectators’ memorable brand experiences. Journal of Destination Marketing & Management, 9, 1-11.

Kimpakorn, N., & Tocquer, G. (2010). Service brand equity and employee brand commitment. Journal of Services Marketing, 24(5), 378-388.

Ladhari, R., & Michaud, M. (2015). eWOM effects on hotel booking intentions, attitudes, trust, and website perceptions. International Journal of Hospitality Management, 46, 36-45.

Priester, J. R., & Petty, R. E. (1996). The gradual threshold model of ambivalence: relating the positive and negative bases of attitudes to subjective ambivalence. Journal of personality and social psychology, 71(3), 431.

Purnomo, S. H., & Lee, Y. H. (2010). Why is understanding customer attitude toward 4Ps marketing mix important? The case of the livestock input industry in Indonesia. Journal of Development and Agricultural Economics, 2(4), 107-114.

Salinas, E. M., & Pérez, J. M. P. (2009). Modeling the brand extensions' influence on brand image. Journal of Business Research, 62(1), 50-60.

The Hong Kong Society for the Deaf. (2014). Press Conference on Supporting the Hearing Impaired Tertiary Students. Retrieved October 2, 2019, from http://www.deaf.org.hk/en/res_res.php.

Yamashita, T., Hahn, S. J., Kinney, J. M., & Poon, L. W. (2018). Impact of life stories on college students’ positive and negative attitudes toward older adults. Gerontology & geriatrics education, 39(3), 326-340.

Downloads

เผยแพร่แล้ว

18-12-2020

How to Cite

ศุภชัย เหมือนโพธิ์, กิตติพจน์ เพิ่มพูน, ศิริเชษฐ์ สังขะมาน, สุทธิศานติ์ ชุ่มวิจารณ์, ศรวิชา กฤตาธิการ, นพดล มโนสุทธิ, ภาสกร พันธุ์พฤกษชาติ, ทาริกา สระทองคำ, & ธนัชพร ถวิลผล. (2020). การสำรวจทัศนคติและความต้องการของคนพิการทางการได้ยินหรือสื่อความหมายต่อการนำเสนอรายการโทรทัศน์ภายใต้การกำกับดูแลของ กสทช . วารสารกิจการสื่อสารดิจิทัล, 4(4), 232–252. สืบค้น จาก https://so04.tci-thaijo.org/index.php/NBTC_Journal/article/view/237688