กิจการกระจายเสียงและโทรทัศน์: การศึกษาพัฒนาการกฎหมายการสื่อสารไทย คริสต์ศตวรรษที่ 20
คำสำคัญ:
วิทยุกระจายเสียงและโทรทัศน์, การสื่อสารมวลชน, โทรคมนาคม, พระราชบัญญัติบทคัดย่อ
บทความนี้ศึกษาพัฒนาการกฎหมายการสื่อสารของประเทศไทย ในช่วงคริสต์ศตวรรษที่ 20 วัตถุประสงค์ของบทความ เพื่อศึกษาความเปลี่ยนแปลงกิจการกระจายเสียงและโทรทัศน์ของสังคมไทย และเพื่อศึกษาพลวัตของกฎหมายด้านการสื่อสาร โดยวิเคราะห์และพิจารณาผ่านโลกทัศน์ทางประวัติศาสตร์ ซึ่งใช้แนวคิดสำคัญเกี่ยวกับพลวัตและความเปลี่ยนแปลงทางสังคม โดยใช้วิธีวิทยาทางด้านประวัติศาสตร์ จากการรวบรวมเอกสารชั้นปฐมภูมิและเอกสารงานวิจัยชั้นทุติยภูมิ ผลการศึกษาพบว่าพัฒนาการกฎหมายการสื่อสารในคริสต์ศตวรรษที่ 20 เปลี่ยนแปลงตามบริบทของสังคม 3 ช่วง ได้แก่ ช่วงจัดการปกครองแบบมณฑลเทศาภิบาล ช่วงเปลี่ยนแปลงการปกครองกับสงครามโลกครั้งที่ 2 และช่วงสงครามเย็น และพลวัตกฎหมายอันเกิดขึ้นจากเงื่อนไขความพร้อมของสังคมในการใช้เทคโนโลยีการสื่อสาร ซึ่งพัฒนาสอดคล้องกับบทบาทหน้าที่ของผู้ใช้งานที่หลากหลายมากขึ้น ส่งผลต่อการกำหนดกฎหมายของรัฐบาลมาบังคับใช้ให้ครอบคลุม ทั้งการออกใบอนุญาต และการกำหนดบทลงโทษ บทความนี้จึงนำไปสู่ความเข้าใจเกี่ยวกับการเปลี่ยนแปลงข้อกฎหมาย และพัฒนาการเทคโนโลยีด้านการสื่อสารทางไกล ซึ่งเกิดขึ้นในไทยตลอดคริสต์ศตวรรษที่ 20
References
พระราชบัญญัติการประกอบกิจการกระจายเสียงและกิจการโทรทัศน์ พ.ศ. 2551. (2551, 4 มีนาคม). ราชกิจจานุเบกษา. เล่ม 125 ตอนที่ 42 ก. หน้า 61-91.
พระราชบัญญัติวิทยุกระจายเสียงและวิทยุโทรทัศน์ พ.ศ. 2498. (2498, 8 กุมภาพันธ์). ราชกิจจานุเบกษา. เล่ม 72 ตอนที่ 11 ก. หน้า 237-248.
พระราชบัญญัติวิทยุกระจายเสียงและวิทยุโทรทัศน์ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2502. (2502, 7 เมษายน). ราชกิจจานุเบกษา. เล่ม 76 ตอนที่ 43 ก ฉบับพิเศษ. หน้า 1-6.
พระราชบัญญัติวิทยุกระจายเสียงและวิทยุโทรทัศน์ (ฉบับที่ 3) พ.ศ. 2521. (2521, 17 พฤษภาคม). ราชกิจจานุเบกษา. เล่ม 95 ตอนที่ 53 ก ฉบับพิเศษ. หน้า 5-8.
พระราชบัญญัติวิทยุกระจายเสียงและวิทยุโทรทัศน์ (ฉบับที่ 4) พ.ศ. 2530. (2530, 21 สิงหาคม). ราชกิจจานุเบกษา. เล่ม 104 ตอนที่ 166 ก ฉบับพิเศษ. หน้า 1-9.
พระราชบัญญัติวิทยุคมนาคม พ.ศ. 2498. (2498, 8 กุมภาพันธ์). ราชกิจจานุเบกษา. เล่ม 72 ตอนที่ 11 ก. หน้า 208-219.
พระราชบัญญัติวิทยุคมนาคม (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2504. (2504, 1 กรกฎาคม). ราชกิจจานุเบกษา. เล่ม 78 ตอนที่ 54 ก ฉบับพิเศษ. หน้า 3-4.
พระราชบัญญัติวิทยุคมนาคม (ฉบับที่ 3) พ.ศ. 2535. (2535, 18 เมษายน). ราชกิจจานุเบกษา. เล่ม 109 ตอนที่ 52 ก. หน้า 1-5.
พระราชบัญญัติวิทยุโทรเลข. (2457, 28 เมษายน). ราชกิจจานุเบกษา. เล่ม 31 ตอนที่ 0 ก. หน้า 99-105.
พระราชบัญญัติวิทยุโทรเลขเพิ่มเติม. (2464, 7 สิงหาคม). ราชกิจจานุเบกษา. เล่ม 38 ตอนที่ 0 ก. หน้า 115-116.
พระราชบัญญัติวิทยุโทรเลขแก้ไขเพิ่มเติม พุทธศักราช 2473. (2473, 14 กันยายน). ราชกิจจานุเบกษา. เล่ม 47 ตอนที่ 0 ก. หน้า 161-166.
พระราชบัญญัติวิทยุสื่อสาร พุทธศักราช 2478. (2478, 1 กุมภาพันธ์). ราชกิจจานุเบกษา. เล่ม 52 ตอนที่ 0 ก. หน้า 1965-1977.
พระราชบัญญัติวิทยุสื่อสาร (ฉบับที่ 2) พุทธศักราช 2481. (2482, 1 เมษายน). ราชกิจจานุเบกษา. เล่ม 56 ตอนที่ 0 ก. หน้า 127-129.
พระราชบัญญัติวิทยุสื่อสาร (ฉบับที่ 3) พุทธศักราช 2483. (2483, 1 ตุลาคม). ราชกิจจานุเบกษา. เล่ม 57 ตอนที่ 0 ก. หน้า 436-439.
พระราชบัญญัติวิทยุสื่อสาร (ฉบับที่ 4) พุทธศักราช 2485. (2485, 12 พฤษภาคม). ราชกิจจานุเบกษา. เล่ม 59 ตอนที่ 32 ก. หน้า 1039-1040.
พระราชบัญญัติวิทยุสื่อสาร (ฉบับที่ 5) พ.ศ. 2491. (2491, 10 กุมภาพันธ์). ราชกิจจานุเบกษา. เล่ม 65 ตอนที่ 8 ก. หน้า 108-111.
พระราชบัญญัติวิทยุสื่อสาร (ฉบับที่ 6) พ.ศ. 2497. (2497, 30 มกราคม). ราชกิจจานุเบกษา. เล่ม 71 ตอนที่ 7 ก. หน้า 1-3.
พระราชบัญญัติสัตว์พาหนะ พุทธศักราช 2482. (2482, 6 พฤศจิกายน). ราชกิจจานุเบกษา. เล่ม 56 ตอนที่ 0 ก. หน้า 1492-1506.
เอกสารทั่วไป
กาญจนา แก้วเทพ และสมสุข หินวิมาน. (2553). สายธารนักคิดทฤษฎีเศรษฐศาสตร์การเมืองกับสื่อสารศึกษา. ภาพพิมพ์.
แถมสุข นุ่มนนท์. (2533). หลักฐานประวัติศาสตร์ในประเทศไทย. โอเดียนสโตร์.
ธงนรินทร์ นามวงศ์. (2563). โฆษณาชวนเชื่อในนิตยสารเสรีภาพ. วารสารประวัติศาสตร์, 45, 93-116.
นภวรรณ ตันติเวชกุล. (2557). การสื่อสารประชาสัมพันธ์ในสมัยพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว. วารสาร การประชาสัมพันธ์และการโฆษณา, 7(1), 12-37.
ประวัติโทรทัศน์ในประเทศไทย. (2551, 19 กุมภาพันธ์). Blogger. http://fang-khaow.blogspot .com/2008/02/blog- post_111.html
ปรีดี เกษมทรัพย์. (2531). นิติปรัชญา. พิมพ์ครั้งที่ 2. สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.
ศักดิภัท เชาวน์ลักณ์สกุล และสุภัทรา อำนวยสวัสดิ์. (2560). สยามกับการล่าอาณานิคมสมัยรัชกาลที่ 5 (พ.ศ. 2411-2453). วารสารช่อพะยอม, 28(1), 71-78.
สำนักหอจดหมายเหตุแห่งชาติ. (2463, 7 ธันวาคม). กต 35/22. เอกสารกระทรวงการต่างประเทศ. “จ้างกัปตันแมคเกนซี เข้ามาเป็นผู้แต่งหนังสือ”. ม.ป.ท.
อรรถจักร์ สัตยานุรักษ์. (2538). การเปลี่ยนแปลงโลกทัศน์ของชนชั้นผู้นำไทย ตั้งแต่รัชกาลที่ 4 - พ.ศ. 2475. สำนักพิมพ์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
Molokwu, J. B. (n.d.). Theories of Mass Communication. National Open University of Nigeria.
Olabarri, I. (1995). “New” New History: A Longue Duree Structure. History and Theory, 34(1), 1-29.
Rawls, J. (1993). The Law of Peoples. Critical Inquiry, 20(1), 36-68.
Salkever, S. G. (1981). Aristotle’s Social Science. Political Theory, 9(4), 479-508.
Toscano, A. A. (2006). Positioning Guglielmo Marconi’s wireless: a rhetorical analysis of an early twentieth- century technology [Doctoral dissertation]. University of Louisville.
Downloads
เผยแพร่แล้ว
How to Cite
ฉบับ
บท
License
บทความที่ปรากฏในวารสารกิจการสื่อสารดิจิทัล เป็นลิขสิทธิ์ของสำนักงาน กสทช. ซึ่งสำนักงาน กสทช. เปิดโอกาสให้สาธารณะหรือบุคคลทั่วไปสามารถนำผลงานไปเผยแพร่ คัดลอก หรือตีพิมพ์ซ้ำได้ ภายใต้สัญญาอนุญาตแบบเปิด (Creative Commons: CC) โดยมีเงื่อนไขสำหรับผู้ที่นำผลงานไปใช้ต้องระบุอ้างอิงแหล่งที่มา (Attribution: BY) ห้ามดัดแปลง (NoDerivatives: ND) และต้องไม่ใช้เพื่อการค้า (NonCommercial: NC) เว้นแต่ได้รับอนุญาตเป็นลายลักษณ์อักษรจากสำนักงาน กสทช.
อนึ่ง ข้อความ ตาราง และภาพที่ปรากฏในบทความซึ่งได้รับการตอบรับให้ตีพิมพ์และเผยแพร่ในวารสารนี้เป็นความคิดเห็นของผู้นิพนธ์ โดยไม่ผูกพันต่อ กสทช. และสำนักงาน กสทช. หากมีความผิดพลาดใด ๆ ผู้นิพนธ์แต่ละท่านต้องรับผิดชอบบทความของตนเองแต่เพียงผู้เดียว ไม่เกี่ยวข้องกับ กสทช. และสำนักงาน กสทช. แต่ประการใด