ดิจิทัล ทรานส์ฟอร์เมชัน ของสถานีวิทยุกระจายเสียงมหาวิทยาลัย

ผู้แต่ง

  • สุภารักษ์ จูตระกูล มหาวิทยาลัยนอร์ทกรุงเทพ

คำสำคัญ:

สถานีวิทยุกระจายเสียงมหาวิทยาลัย, ดิจิทัล ดิสรัปชัน , ดิจิทัล ทรานส์ฟอร์เมชัน

บทคัดย่อ

บทความนี้ศึกษาการเปลี่ยนผ่านทางเทคโนโลยีดิจิทัลที่ส่งผลต่อการขับเคลื่อนสถานีวิทยุกระจายเสียงมหาวิทยาลัย และศึกษาแนวทางการปรับตัวของสถานีวิทยุกระจายเสียงมหาวิทยาลัยบนความท้าทายของกระแสดิจิทัล ดิสรัปชัน โดยศึกษาเชิงคุณภาพด้วยการรวบรวมและวิเคราะห์เอกสารข้อมูลสถานีวิทยุกระจายเสียงมหาวิทยาลัย ทั้งจากงานวิจัย บทความวิชาการ เว็บไซต์ และข่าวที่เกี่ยวข้องกับสื่อวิทยุกระจายเสียง ตั้งแต่ พ.ศ. 2555-2566 ผลการศึกษาพบว่า เทคโนโลยีในยุคดิจิทัลทำให้สื่อวิทยุกระจายเสียงสามารถเผยแพร่เนื้อหาเดียวกันได้หลากหลายแพลตฟอร์มบนเครือข่ายอินเทอร์เน็ตผ่านระบบสตรีมมิงที่ส่งได้ทั้งภาพและเสียง โดยฟังผ่านเว็บไซต์หรือแอปพลิเคชัน ทั้งแบบรับฟังการออกอากาศสดและแบบรับฟังย้อนหลัง มีการเปลี่ยนแปลงวิธีการจัดรายการวิทยุ จากรูปแบบรายการสดเป็นการใช้โปรแกรมสำหรับจัดรายการวิทยุออนไลน์ สำหรับการปรับตัวของสถานีวิทยุกระจายเสียงมหาวิทยาลัยท่ามกลางความเปลี่ยนแปลงทางเทคโนโลยีอันรวดเร็ว ต้องพัฒนาทั้งด้านระบบบริหารจัดการ การบริหารงบประมาณ การบริหารบุคลากรที่ดำเนินงานด้านวิทยุกระจายเสียงให้มีทักษะดิจิทัล เพื่อนำเนื้อหารายการสู่มัลติแพลตฟอร์ม ตลอดจนมีความร่วมมือกับเครือข่ายพันธมิตรสถานีวิทยุกระจายเสียงภายใต้สังกัดมหาวิทยาลัยอื่น ในภูมิภาคต่าง ๆ เพื่อให้ความรู้ด้านวิชาการ ข้อมูลข่าวสารที่เป็นประโยชน์ให้กับประชาชน

References

กันยากร สุจริตเนติการ. (2560). ปัจจัยที่มีผลกระทบต่อการเป็นวิทยุดิจิทัลของสถานีวิทยุกระจายเสียงสถาบันการศึกษา [วิทยานิพนธ์นิเทศศาสตรมหาบัณฑิต]. มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.

กิตตินันท์ นาคทอง. (2566, 11 มีนาคม). นับถอยหลังวิทยุชุมชนหลังปี 2567. ผู้จัดการออนไลน์. https://mgronline.com/columnist/detail/9660000022868

กุลวัฒน์ ทศพะรินทร์ และ จิรภัทร กิตติวรากูล. (2560). การปรับตัวของสื่อวิทยุกระจายเสียงในจังหวัดเชียงใหม่ ช่วงทศวรรษที่ผ่านมา (พ.ศ.2550 – 2560). วารสารสมาคมสถาบันอุดมศึกษาเอกชนแห่งประเทศไทย, 23(1), 52-63.

จักร์กฤษ เพิ่มพูล. (2566, 25 พฤศจิกายน). บทบาทของวิทยุจุฬาฯ ที่มีต่อจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและสังคมไทยในมุมมองของผู้ทรงคุณวุฒิ และผู้ฟังวิทยุจุฬาฯ. สถานีวิทยุแห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. https://curadio.chula.ac.th/v2022/news/detail/?13a4#

ณัฐวัฒน์ ไตรทิพย์พิทักษ์. (2566). Content Creator ในสื่อวิทยุ และการสร้าง Podcast. ใน สมาคมวารสารศาสตร์ ธรรมศาสตร์ และ กองทุนวิจัยและพัฒนากิจการกระจายเสียง กิจการโทรทัศน์ และกิจการโทรคมนาคม เพื่อประโยชน์สาธารณะ, คู่มือ New Media-New Gen เส้นทางสู่สื่อมืออาชีพรุ่นใหม่ (น. 29-33). กรุงเทพฯ: สมาคมวารสารศาสตร์ ธรรมศาสตร์.

ทีมข่าวเฉพาะกิจ. (2561, 9 พฤศจิกายน). ดิจิตอลฆ่าวิทยุ? DJ ขาลง จะอยู่อย่างไร เมื่อคนฟังไม่โทรมาขอเพลง. ไทยรัฐออนไลน์. https://www.thairath.co.th/scoop/1415560

ธีรพงษ์ ประทุมศิริ. (2566, 25 พฤศจิกายน). บทบาทของวิทยุจุฬาฯ ที่มีต่อจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและสังคมไทยในมุมมองของผู้ทรงคุณวุฒิ และผู้ฟังวิทยุจุฬาฯ. สถานีวิทยุแห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. https://curadio.chula.ac.th/v2022/news/detail/?13a4#

‘นิด้าโพล’ ชี้คนกรุง 63% ยังรับฟังวิทยุ!. (2565, 15 กันยายน). ไทยโพสต์. https://www.thaipost.net/x-cite-news/222091/

บรรจง เศษวิสัย. (2566, 24 มกราคม). สถานีวิทยุ มข. “Up-Skill” จัดอบรมเทคนิคการจัดรายการวิทยุ ในยุคดิจิทัล. มหาวิทยาลัยขอนแก่น. https://th.kku.ac.th/127727/

ปานฉัตร สินสุข. (2566, 26 เมษายน). ส่องแผนแม่บทฉบับใหม่ “กสทช.” ปักหมุดต้องก้าวทันดิสรัปชัน. กรุงเทพธุรกิจ. https://www.bangkokbiznews.com/tech/gadget/1065008

เปิดผลสำรวจ กสทช.ฉบับเต็ม ชี้ชัดๆ‘วิทยุ’ไม่ตกยุค-เข้าถึงประชาชนทุกกลุ่มวัย. (2565, 5 ตุลาคม). แนวหน้า. https://naewna.com/business/684470

พ็อดคาสท์ (Podcast) ทางเลือกของสื่อรูปแบบเสียงบนแพลตฟอร์มออนไลน์ ที่กำลังมาแรง. (2562). Mercedes me. https://www.mercedesmagazine-th.com/podcast/

พิพัฒน์ สังข์แก้ว. (2555). ปัจจัยที่มีผลต่อการกำหนดกลยุทธ์การบริหารจัดการสถานีวิทยุกระจายเสียง อสมท. ส่วนภูมิภาค [วิทยานิพนธ์นิเทศศาสตรมหาบัณฑิต]. มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช.

ภัทฑิยา โภคาพานิชย์. (2559). กลยุทธ์การปรับตัวของคลื่นวิทยุในยุคสื่อดิจิทัล กรณีศึกษาคลื่นวิทยุ Cool Fahrenheit 93 [วิทยานิพนธ์นิเทศศาสตรมหาบัณฑิต]. มหาวิทยาลัยกรุงเทพ.

ภาวิณี โตตะเคียน. (ม.ป.ป.). รายการเครือข่ายสายตรงวิทยุสถาบัน. สถานีวิทยุแห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. https://curadio.chula.ac.th/Program.php?gc=nu

รัศมิมาลย์ เกี่ยวศรีกุล. (2566). สื่อเสียงจากวิทยุสู่ Platform ใหม่. ใน สมาคมวารสารศาสตร์ ธรรมศาสตร์ และ กองทุนวิจัยและพัฒนากิจการกระจายเสียง กิจการโทรทัศน์ และกิจการโทรคมนาคม เพื่อประโยชน์สาธารณะ, คู่มือ New Media-New Gen เส้นทางสู่สื่อมืออาชีพรุ่นใหม่ (น. 24-28). กรุงเทพฯ: สมาคมวารสารศาสตร์ ธรรมศาสตร์.

สถานีวิทยุ ม.อ.ปัตตานี. (ม.ป.ป.). ประวัติความเป็นมา. https://psu10725.net/index.php/เกี่ยวกับสถานี/ประวัติความเป็นมา

สถานีวิทยุกระจายเสียงมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี. (ม.ป.ป.). วัตถุประสงค์ วิสัยทัศน์ พันธกิจ. https://www.radio.rmutt.ac.th/?page_id=13224

สถานีวิทยุกระจายเสียงมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์. (ม.ป.ป.). วิสัยทัศน์และพันธกิจ. http://radio981.tu.ac.th/about-us/pillar

สถานีวิทยุกระจายเสียงมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์. (2553). ประชุมเชิงปฏิบัติการเครือข่ายสถานีวิทยุสถาบันการศึกษา. http://203.131.210.100/?p=2452

สถานีวิทยุกระจายเสียงมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตหาดใหญ่. (ม.ป.ป.). เกี่ยวกับ. https://psub.psu.ac.th/?page_id=72

สถานีวิทยุกระจายเสียงมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตหาดใหญ่. (2565, 3 พฤศจิกายน). สถานีวิทยุ ม.อ.หาดใหญ่ จัดเสวนา จับตาหน้าน้ำ 65 : สงขลาพร้อมแค่ไหน?. https://psub.psu.ac.th/?p=10279

สถานีวิทยุเพื่อการศึกษา มหาวิทยาลัยราชภัฏลำปาง. (ม.ป.ป.). ประวัติสถานี. http://www.nitade.lpru.ac.th/radio/html/about.html

สถานีวิทยุเพื่อการศึกษา มหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลา. (ม.ป.ป.). ประวัติสถานีวิทยุ. http://radio.skru.ac.th/history.php

สถานีวิทยุเพื่อการศึกษามหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย วิทยาเขตแพร่. (2567, 19 เมษายน). สถานีวิทยุเพื่อการศึกษา FM 100 MHz. https://phrae.mcu.ac.th/web/?page_id=3136

สถานีวิทยุมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์. (ม.ป.ป.). มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ กับ สถานีวิทยุกระจายเสียง. https://radio.ku.ac.th/about.php

สถานีวิทยุเสียงสื่อสารมวลชน คณะการสื่อสารมวลชน มหาวิทยาลัยเชียงใหม่. (ม.ป.ป.). ประวัติของสถานีวิทยุเสียงสื่อสารมวลชน. https://www.fm100cmu.com/about.php

สถานีวิทยุแห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. (ม.ป.ป.). การเผยแพร่และออกอากาศ. https://curadio.chula.ac.th/Broadcast.php

สำนักงานคณะกรรมการกิจการกระจายเสียง กิจการโทรทัศน์ และกิจการโทรคมนาคมแห่งชาติ. (2563). แผนแม่บทกิจการกระจายเสียงและกิจการโทรทัศน์ ฉบับที่ 2 (พ.ศ.2563 - 2568). https://www.nbtc.go.th/Information/MasterPlan/47301.aspx?lang=th-th

สำนักงานคณะกรรมการกิจการกระจายเสียง กิจการโทรทัศน์ และกิจการโทรคมนาคมแห่งชาติ. (2565). รายงานสภาพตลาดกิจการกระจายเสียงและกิจการโทรทัศน์ ประจำเดือน ธันวาคม 2565. https://broadcast.nbtc.go.th/data/bcj/2565/doc/2565_12.p

สำนักงานคณะกรรมการกิจการกระจายเสียง กิจการโทรทัศน์ และกิจการโทรคมนาคมแห่งชาติ. (2566). ผู้ได้รับอนุญาตให้ใช้คลื่นความถี่และประกอบกิจการวิทยุกระจายเสียง. https://broadcast.nbtc.go.th/radio-radio_test-radio_newlist

สุณิสา เมืองแก้ว และ ธีรภัทร วรรณฤมล. (2562). การปรับตัวของวิทยุกระจายเสียงในยุคหลอมรวมสื่อ. วารสารการสื่อสารมวลชน คณะการสื่อสารมวลชน มหาวิทยาลัยเชียงใหม่, 7(1), 25-44. https://so03.tci-thaijo.org/index.php/masscomm/article/view/168760

สุภารักษ์ จูตระกูล. (2557). 4 SCREEN กับการแสวงหาข่าวสารในยุคหลอมรวมสื่อ. วารสารวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฎเชียงราย, 9(2), 141-156. http://jms.crru.ac.th/datas/MJ_21_2_2557_ExJournal.pdf

อาทิตยา ปักกะทานัง และ ณัฐพล ดีอุต. (2565). สถานีวิทยุกระจายเสียง มทร.ธัญบุรีจัดการประชุมคณะกรรมการบริหารสถานี เพื่อจัดทำแผนยุทธศาสตร์ สถานีวิทยุกระจายเสียง (ปี 2566 – 2568). สถานีวิทยุกระจายเสียงมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี. https://www.radio.rmutt.ac.th/?p=29655

อุดมชัย สุพรรณวงศ์. (2564, 11 กุมภาพันธ์). วิทยุ มข. FM 103 MHz บทพิสูจน์คุณค่าที่แท้จริงของสื่อวิทยุกระจายเสียงในสถาบันอุดมศึกษาที่ไม่เคยเปลี่ยนไป บนความท้าทายของกระแส Media Disruption. มหาวิทยาลัยขอนแก่น. https://th.kku.ac.th/50963/

Go2wifinetwork. (2018, December 24). Auto Radio (โปรแกรม Auto Radio จัดการสถานีวิทยุอัตโนมัติ) [ซอฟต์แวร์คอมพิวเตอร์]. https://software.thaiware.com/11641-Auto-Radio-Download.html

Downloads

เผยแพร่แล้ว

31-10-2024

How to Cite

จูตระกูล ส. . . (2024). ดิจิทัล ทรานส์ฟอร์เมชัน ของสถานีวิทยุกระจายเสียงมหาวิทยาลัย. วารสารกิจการสื่อสารดิจิทัล, 8(2), 147–168. สืบค้น จาก https://so04.tci-thaijo.org/index.php/NBTC_Journal/article/view/267511