The Dynamics of the Pluralist Society and Diverse Cultures of the People in Koh Lanta, Krabi Province (1979- 2010)

Main Article Content

Pornchai Nakseethong
Anin Puttichot

Abstract

The objective of this article is to study the developmental history of Koh Lanta, both economically and socially. This article will focus on the dynamics of the pluralist society and diverse cultures of the people in Koh Lanta, Krabi Province during the period of the official development of the tourism industry, beginning in 1979. This qualitative research has been conducted using the historical research method.


This study discovered that Koh Lanta is home to numerous ethnic groups, such as Sea Gypsies (Urak Lawoi and Morgan in particular), Thai-Muslim and Thai-Chinese. Each group has unique religious and cultural identities. Most of the indigenous population is fishermen and farmers. Considerable economic changes in Koh Lanta were initiated in the age of tourism development following the Thai government’s promotion of the national tourism industry in 1979.


By the time the island was registered as Koh Lanta National Park in 1990, Koh Lanta was well-known for its richness in natural resources and the uniqueness of its multiculturalism. As expected, the island became one of the centers of marine tourism in the area of the Andaman coastal areas of Thailand. Tourism has changed Koh Lanta considerably. Once an isolated self-sufficient community, it is now an open community. The substantial number of tourists and immigrants over this time has had a tremendous impact on the community in Koh Lanta.


One important example of change in the island’s economy is that the economy went from being agrarian and marine based, to one based on tourism and services. The increasing rate of investment fuelled the tourist industry’s expansion and also affected the community’s culture. Despite living in a multicultural society amid the rapid expansion of tourism, the people in Koh Lanta presently have been able to sustain their unique ethnic, religious, and cultural identity. They are still capable of living together in peace and harmony.

Article Details

How to Cite
Nakseethong, P., & Puttichot, A. (2023). The Dynamics of the Pluralist Society and Diverse Cultures of the People in Koh Lanta, Krabi Province (1979- 2010). Journal of Thai Studies, 10(2), 117–153. Retrieved from https://so04.tci-thaijo.org/index.php/TSDJ/article/view/263697
Section
Research article
Author Biographies

Pornchai Nakseethong

Lecturer in the Bachelor of Arts Program in History, Faculty of Humanities and Social Sciences, Thaksin University, Songkhla campus

Anin Puttichot

Lecturer in the Bachelor of Arts Program in History, Faculty of Humanities and Social Sciences, Thaksin University, Songkhla campus. She is currently a Ph.D. candidate in the College of Interdisciplinary Studies, Thammasat University.

References

กฤชฏิมา สุขมะโน. แนวทางการพัฒนาเกาะลันตาใหญ่อุทยานแห่งชาติหมู่เกาะลันตา จังหวัดกระบี่เพื่อการท่องเที่ยวเชิงอนุรักษ์. ปริญญา ค.ม. (สถาปัตยกรรม) สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง, ๒๕๕๐.

การท่องเที่ยวแห่งประเทศไทย สำนักงานภาคใต้เขต ๔ (ภูเก็ต พังงา กระบี่). รายชื่อที่พักในจังหวัดกระบี่. ภูเก็ต : การท่องเที่ยวแห่งประเทศไทย, ม.ป.ป.

กิตติ วิชัยดิษฐ์. ศึกษาการพัฒนาอุตสาหกรรมการท่องเที่ยวหมู่เกาะลันตา อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่. ปริญญานิพนธ์ ศศ.ม. (ไทยคดีศึกษา) มหาวิทยาลัยทักษิณ, ๒๕๔๐.

คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.รายงานฉบับสมบูรณ์การศึกษาเชิงปฏิบัติการเรื่องแผนแม่บทเพื่อการพัฒนา การท่องเที่ยวอย่างยั่งยืนในเกาะลันตาใหญ่ จังหวัดกระบี่ = A master plan for sustainable tourism development in Lanta Yai Island, Krabi province. กรุงเทพฯ : คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, ๒๕๕๐.

คณิต ค้าของ. รูปแบบการใช้ประโยชน์พื้นที่เพื่อการพัฒนาการท่องเที่ยวเกาะลันตา จังหวัดกระบี่. ปริญญา ว.ม. (การจัดการสิ่งแวดล้อม) มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์, ๒๕๕๐.

จุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว, พระบาทสมเด็จพระ. พระราชหัตถเลขาในพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวเรื่องเสด็จประพาสแหลมมลายู ร.ศ. ๑๐๙. ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้พิมพ์พระราชทานในงานพระศพสมเด็จพระเจ้าน้องเธอ เจ้าฟ้ามาลินีนพดาราศิรินิภาพรรณวดี กรมขุนศรีสัชนาลัยสุรกัญญา ณ พระเมรุท้องสนามหลวงเมื่อ พ.ศ. ๒๔๖๘.

-------------. เสด็จประพาสรอบแหลมมลายู เล่ม ๑. กรุงเทพฯ : องค์การค้าคุรุสภา, ๒๕๐๗.

ดรุณี ม่วงแก้ว. พระยารัษฏานุประดิษฐ์มหิศรภักดี (คอซิมบิ๊ ณ ระนอง) : ผู้นำการปกครองหัวเมืองไทยฝั่งตะวันตก พ.ศ. ๒๔๔๔ – ๒๔๕๖. ปริญญานิพนธ์ (กศ.ม.ประวัติศาสตร์). มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ, ๒๕๒๖.

ที่ทำการปกครองอำเภอเกาะลันตา. เอกสารบรรยายสรุปอำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่. กระบี่: งานปกครองอำเภอเกาะลันตา, ๒๕๔๔.

ที่ว่าการอำเภอเกาะลันตา “สารบบความอาญา อำเภอเกาะลันตา เมืองกระบี่” เอกสารทางราชการที่พบ ณ ที่ว่าการอำเภอเกาะลันตา

ธเนศ วงศ์ยานนาวา. ความไม่หลากหลายของความหลากหลายทางวัฒนธรรม. กรุงเทพฯ : สำนักพิมพ์สมมติ, ๒๕๕๒.

นฤมล อรุโณทัย. “ความรู้พื้นบ้านของมอแกน : รูปแบบการจัดการและอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติ,” ใน วารสารวิจัยสภาวะแวดล้อม. ฉบับที่ ๒๗ (มกราคม-มิถุนายน., ๒๕๔๘) : ๘๐-๙๗.

-------------. “ความรู้และมายาคติเกี่ยวกับชาติพันธุ์ชาวเล,” ในรายงานการนำเสนอในการเสวนาระดมความคิดเรื่อง“ความรู้และมายาคติเกี่ยวกับกลุ่มชาติพันธุ์” โครงการเวทีวิชาการวัฒนธรรม จัดโดยสำนักงานคณะกรรมการวัฒนธรรมแห่งชาติ ๒๕ มกราคม ๒๕๔๕.

นฤมล อรุโณทัย และคณะ. คนพื้นเมืองกับพื้นที่อนุรักษ์ โครงการนำร่องอันดามัน หมู่เกาะสุรินทร์. กรุงเทพฯ : สถาบันวิจัยสังคม จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, ๒๕๔๖.

นันทวรรณ ภู่สว่าง. “ภาคใต้ในระบบวัฒนธรรมแบบผสมผสาน : ไทย จีน มลายู,” ในภูมิศาสตร์กับวิถีชีวิตไทย. เอกสารประกอบการสัมมนาเฉลิมพระเกียรติ สมเด็จพระเทพรัตนสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี เนื่องในวโรกาสวันคล้ายวันพระราชสมภพ (๒ เมษายน ๒๕๔๓) ณ ศูนย์มานุษยวิทยาสิรินธร ๑๒ – ๑๔ กันยายน ๒๕๔๓.

ประชุมพงศาวดารฉบับกาญจนาภิเษก เล่ม ๖. กรุงเทพฯ : กองวรรณกรรมและประวัติศาสตร์ กรมศิลปากร, ๒๕๔๕.

ประพันธ์ สีดำ เรื่อง “ย้อนรอย ๔๐๐ ปี พิพิธภัณฑ์ชุมชนคนเกาะลันตา,” ใน http://www2.codi.or.th/index.php?option=com_content&task=view&id=1734&Itemid=2

ปรียา บัวทองจันทร์. ผลกระทบของการท่องเที่ยวด้านเศรษฐกิจและสังคม : กรณีศึกษาจังหวัดกระบี่. ปริญญาเศรษฐศาสตรมหาบัณฑิต (เศรษฐศาสตร์). มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, ๒๕๕๑.

ฟารีดาห์ ยงกิจ. วิธีการปลูกฝังความศรัทธาในการอบรมเลี้ยงดูบุตรของครอบครัวไทยมุสลิมในอำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่. ปริญญานิพนธ์ ศศ.ม. (อิสลามศึกษา) มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์, ๒๕๕๑.

ภูวดล ทรงประเสริฐ. ชาวจีนโพ้นทะเลในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้สมัยใหม่. กรุงเทพฯ: สำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย, ๒๕๔๖.

มงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว, พระบาทสมเด็จพระ. จดหมายเหตุประพาสหัวเมืองปักษ์ใต้ ร.ศ. ๑๒๘. กรุงเทพฯ : องค์การค้าคุรุสภา, ๒๕๐๖.

มุนีร สมศักดิ์ มูหะหมัด. วันและเดือนที่สำคัญในอิสลาม. กรุงเทพฯ:สมาคมนักเรียนเก่าศาสนวิทยา, ๒๕๔๘.

แม้นวาด กุญชร ณ อยุธยา. แลเลลันตา : จากสึนามิสู่ชีวิตที่ทระนง. กรุงเทพฯ : ทางช้างเผือก, ๒๕๕๐.

เยาวลักษณ์ ศรีสุกใส. การเปลี่ยนแปลงทางสังคมและวัฒนธรรมของชาวเล กรณีศึกษาเกาะลันตา กระบี่. กรุงเทพฯ : สำนักงานคณะกรรมการวัฒนธรรมแห่งชาติ, ๒๕๔๔.

รายงานสรุปจังหวัดกระบี่ พ.ศ. ๒๕๔๔ – ๒๕๔๗. กระบี่ : สำนักงานจังหวัด, ๒๕๔๗.

สถาบันวิจัยภาษาและวัฒนธรรมเพื่อการพัฒนาชนบท มหาวิทยาลัยมหิดล. การศึกษาความเป็นไปได้ในการพัฒนาและปรับปรุงสิ่งอำนวยความสะดวกเกาะลันตา จังหวัดกระบี่. กรุงเทพฯ : การท่องเที่ยวแห่งประเทศไทย, ๒๕๓๕.

สำนักงานอำเภอเกาะลันตา. ยุทธศาสตร์การพัฒนาอำเภอเกาะลันตา. กระบี่ : สำนักงานฯ, ๒๕๔๘.

สุทัศน์ ละงู. วิถีชีวิตและศักยภาพที่เอื้อต่อการท่องเที่ยวเชิงอนุรักษ์โฮมสเตย์ : กรณีศึกษาชุมชนชาวเลบ้านสังกาอู้ อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่. ปริญญา ศศ.ม. (ยุทธศาสตร์การพัฒนา) มหาวิทยาลัยราชภัฏภูเก็ต, ๒๕๕๑.

สุธิวงศ์ พงศ์ไพบูลย์. จีนทักษิณ วิถีและพลัง. กรุงเทพฯ: สำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย, ๒๕๔๔.

สุรชัย วงศ์ศุภลักษณ์. “เกาะลันตา, อำเภอ,” ใน สารานุกรมวัฒนธรรมไทย ภาคใต้ เล่ม ๑. กรุงเทพฯ : มูลนิธิฯ, ๒๕๒๙. หน้า ๒๔๙ - ๒๕๐.

อาภรณ์ อุกฤษณ์. พิธีลอยเรือ : ภาพสะท้อนสังคมและวัฒนธรรมของชาวเล กรณีศึกษาชุมชนบ้านหัวแหลม เกาะลันตา จังหวัดกระบี่. วิทยานิพนธ์ ศศ.ม. (มานุษยวิทยา) มหาวิทยาลัยศิลปากร, ๒๕๓๒.

-------------. พลวัตการปฏิสัมพันธ์และชาติพันธุ์ธำรงของชาวเกาะลันตา จังหวัดกระบี่. วิทยานิพนธ์ดุษฏีบัณฑิต สาขาวิชาวัฒนธรรมศึกษา มหาวิทยาลัยทักษิณ, ๒๕๕๔.

Ian Morson. The connection Phuket Penang and Adelaide. Bangkok: The Siam Society, 1993.

Leo Kuper. “Plural societies : perspective and problem,” in Pluralism in Africa. Leo Kuper and M.G. Smith, eds. Berkeley and Los Angeles, California : University of California Press, 1969.

บุคลานุกรม

ทวี ทะเลลึก. สัมภาษณ์วันที่ ๑๐ มีนาคม ๒๕๕๔ ณ บริเวณบ้านสังกาฮู้ เกาะลันตา กระบี่

ทิพมาศ ไม่ทราบนามสกุล. สัมภาษณ์วันที่ ๑๐ มีนาคม ๒๕๕๔ ณ บริเวณตลาดศรีรายา เกาะลันตา กระบี่

มนัส กสิคุณ. สัมภาษณ์วันที่๑๐ มีนาคม ๒๕๕๔ ณ บริเวณตลาดศรีรายา เกาะลันตา กระบี่

สุไหม ไม่ทราบนามสกุล. สัมภาษณ์วันที่ วันที่ ๒๕ พฤศจิกายน ๒๕๕๕ ณ ร้านอาหาร SEA GYPSY RESTAURANT เกาะลันตา กระบี่

อะซัน ประมงกิจ. สัมภาษณ์วันที่ ๒๕ พฤศจิกายน ๒๕๕๕ ณ บ้านสังกาฮู้ เกาะลันตา กระบี่