กระบวนการพัฒนาเครือข่ายการออกกำลังกายในชุมชน

Main Article Content

นุสรี ศิริพัฒน์

บทคัดย่อ

พัฒนาเครือข่ายส่งเสริมการออกกำลังกายในชุมชนทำให้แกนนำมีศักยภาพในการแก้ปัญหาของชุมชนเกิดความตระหนักในการเป็นเจ้าของปัญหากำหนดทิศทางพัฒนาชุมชนร่วมวางแผนและลงมือปฏิบัติที่มาจากความต้องการของชุมชน เกิดกระบวนการเรียนรู้จากการปฏิบัติและทบทวนพัฒนาการดำเนินงานเป็นระยะๆ ก่อให้เกิดการจัดการทุนทางสังคม โดยเจ้าหน้าที่และวิทยากรภายนอกเป็นผู้กระตุ้น สนับสนุน และประสานเชื่อมโยงให้เกิดการเรียนรู้ในชุมชน รูปแบบการพัฒนาเครือข่ายออกกำลังกาย เป็นการพัฒนาเครือข่ายจากการรวมกลุ่มทางสังคมที่มีการสื่อสารสร้างความเข้าใจทั้งภายในกลุ่ม ระหว่างกลุ่มและในชุมชน โดยการประยุกต์ใช้ ระเบียบวิธีวิจัยเชิงปฏิบัติการ ในการดำเนินโครงการพัฒนาเครือข่ายออกกำลังกาย สามารถทำให้ชุมชนเข้ามามีส่วนร่วมจัดกระบวนการเรียนรู้และสามารถพึ่งตนเองในการพัฒนาด้านสุขภาพที่สอดคล้องกับวิถีชุมชน ควรนำการพัฒนาเครือข่ายออกกำลังกายไปใช้ในหมู่บ้านอื่นต่อไป

Article Details

บท
บทความวิชาการ

References

คณะทำงานจัดทำยุทธศาสตร์การส่งเสริมกิจกรรมทางกายแห่งชาติ. (2560). แผนยุทธศาสตร์การส่งเสริมกิจกรรมทางกายแห่งชาติ. กรมอนามัย. กระทรวงสาธารณสุข.
บังอร สุวรรณพานิช. (2549). ปัจจัยที่ส่งผลต่อพฤติกรรมการบริโภคอาหารของนักศึกษาสถาบันการพลศึกษา วิทยาเขตกระบี่. กระบี่: สถาบันการพลศึกษา.
ดารณีย์ ศรีสวัสดิ์กุล. (2543). การพัฒนาสุขภาพครู. กรุงเทพมหานคร: การศาสนา.
สุชาติ โสมประยูร. (2542). สุขศึกษาภาคปฏิบัติ. กรุงเทพมหานคร: การศาสนา.
อัจฉรา ปุราคม. (2552). การลงทุนด้านการส่งเสริมกีฬาและออกกำลังกายเพื่อสุขภาพในประเทศไทย สืบค้นเมื่อ15 มกราคม 2560, จาก http://www.rdi.ku.ac.th/kasetresearch54/ GroupSocial/20- Atchara_pur/tempiate.html.
Carvalho, J., E. Marques, J.M. Soares and J. Mota. (2010). Isokinetic strength benefits after 24 weeks of multicomponent exercise training and combined exercise training in older adults. Aging Clinical and Experimental Research.
Chodzko-Zajko, W. and A. Shwingel. (2011). Older Adults: Ages 65 an Older, in Complete Guide to fitness & health B. Bushman. American college of sport medicine: United States of America.
Gregson, J. et al.(2001).System,environmental,and policy changes:Using the social- ecological model as a frsmework for evaluating nutrition education and social marketing programs with low-income andiences . Journal of Nutrition Education.33:S4-S15.
Mcleroy et al. (1988). Delivery Quality Service: Balancing Customer Perceptions and Expectations. New York: Free Press.
McArdle, W.D., F.I. Katch and V.L. Katch. 1994. Essentials of Exercise Physiology. 5th ed. Philadelphia: Lea & Febiger.
Spielholz, N.I., J.V. Basmajian and S.L. Wolf. 1990. Scientific Basis of Exercise Programs. In: Therapeutic Exercise Baltimor.