คุณลักษณะของนักบัญชียุคดิจิทัลที่ส่งผลต่อผลสัมฤทธิ์ในการปฏิบัติงาน ของนักบัญชีสังกัดองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นในจังหวัดลำปาง

Main Article Content

มนัสภรณ์ วังแวว
อัศนีย์ ณ น่าน

บทคัดย่อ

การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาคุณลักษณะของนักบัญชียุคดิจิทัลที่ส่งผลต่อผลสัมฤทธิ์ในการปฏิบัติงานของนักบัญชีสังกัดองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นในจังหวัดลำปาง กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัยเป็นนักบัญชีที่ปฏิบัติงานด้านการเงินและบัญชีสังกัดองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นจังหวัดลำปาง จำนวน 150 คน ใช้แบบสอบถามเป็นเครื่องมือในการเก็บรวบรวมข้อมูล สถิติที่ใช้ ได้แก่ ความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และการวิเคราะห์ถดถอย (Regression Analysis)  ผลการวิจัย พบว่า คุณลักษณะของนักบัญชียุคดิจิทัลที่ส่งผลต่อผลสัมฤทธิ์ในการปฏิบัติงานของนักบัญชีสังกัดองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นในจังหวัดลำปาง ได้แก่ ด้านความรู้และทักษะทางวิชาชีพบัญชี ด้านจรรยาบรรณวิชาชีพบัญชี ด้านกฎหมายที่เกี่ยวข้องกับบัญชี ด้านการคิดวิเคราะห์และการแก้ไขปัญหา และด้านเทคโนโลยีสารสนเทศอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05

Article Details

บท
บทความวิจัย

References

กมลภู สันทะจักร และกนกศักดิ์ สุขวัฒนาสินิทธิ์. (2562). ปัจจัยของนักบัญชียุคดิจิทัลที่มีผลต่อผลสัมฤทธิ์ในการปฏิบัติงานของหน่วยงานราชการในประเทศไทย.วารสารหาดใหญ่วิชาการ, 17(1), 17-31.

จารุวรรณ แซ่เต้า. (2564). ความสัมพันธ์ระหว่างทักษะวิชาชีพบัญชีในยุคดิจิทัลกับความสำเร็จในการทำงานของผู้บริหารฝ่ายบัญชีบริษัทจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย. วิทยานิพนธ์ปริญญาบัญชีมหาบัณฑิต สาขาวิชาบัญชี มหาวิทยาลัยมหาสารคาม.

ณัชชา อาแล, และฐิตาภรณ์ สินจรูญศักดิ์. (2561). ทักษะทางวิชาชีพ ด้านความชำนาญในการปฏิบัติงานและการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศทางบัญชีส่งผลต่อประสิทธิภาพการปฏิบัติงานของบุคลากรทางบัญชีในองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นในเขตภาคใต้.วารสารอัล-ฮิกมะฮฺมหาวิทยาลัยฟาฏอนี, 8(16), 11-19

ณัชชา อาแล และฐิตาภรณ์ สินจรูญศักดิ์. (2561). ปัจจัยที่ส่งผลต่อประสิทธิภาพการปฏิบัติงานทางบัญชีและคุณภาพงบการเงินขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นในประเทศไทย. วารสารมหาวิทยาลัยคริสเตียน, 24(1), 19-3

ทศพร ศิริสัมพันธ์. (2560).ระบบราชการ 4.0 กับการสร้างนวัตกรรมและความเป็นผู้ประกอบการภาครัฐ. สืบค้นเมื่อวันที่ 19 พฤษภาคม 2565 2565, จาก https://www.dpe.go.th/manual-files-401291791810.

ธรารินทร์ ใจเอื้อพลสุข. (2563). ปัจจัยที่ส่งผลต่อความสำเร็จในการปฏิบัติงานของสำนักงานบัญชีคุณภาพในประเทศไทย.วารสารวิชาการมหาวิทยาลัยการจัดการและเทคโนโลยีอีสเทิร์น, 17(1), 89-101.

นฤมล แสนสมุทรใจ และไพฑูรย์ อินต๊ะขัน. (2565). ทักษะการปฏิบัติงานบัญชีสมัยใหม่ต่อความสำเร็จในการทำงานของนักบัญชีสังกัดอาชีวศึกษาเอกชน.วารสารการบริหารนิติบุคคลและนวัตกรรมท้องถิ่น. 8(8),115-126

นารีรัตน์ ศรีหล้า. (2564). แนวทางการพัฒนานักบัญชีที่ส่งผลต่อประสิทธิผลปฏิบัติงานในจังหวัดศรีสะเกษ.วารสารบัณฑิตวิทยาลัยพิชญทรรศน์, 16(3), 1-13.

นูร์ปาซียะห์ กูนา. (2562). ความสุขในการทำงานของบุคลากรองค์การบริหารส่วนตำบลในอำเภอเมืองปัตตานี จังหวัดปัตตานี. การค้นคว้าอิสระปริญญารัฐประศาสนศาสตร์มหาบัณฑิตมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์.

บุญช่วง ศรีธรราษฎร์ (2560). ผลกระทบของความเป็นเลิศทางวิชาชีพบัญชีที่มีต่อความสำเร็จในวิชาชีพของนักบัญชีบริษัทในเขตภาคตะวันออกเฉียงเหนือภายใต้ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน. วารสารวิจัยกาซะลองคำ, 12(1), 31-43

ปภัชญา ผิวอ่อน และดิษยาภา เนียมถนอม. (2562). แนวทางการปฏิบัติตามจรรยาบรรณเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการทำงานของนักบัญชีในจังหวัดระยอง.วารสารบริหารธุรกิจอุตสาหกรรม, 1(1), 83-96.

ปรานี คำมา และคณะ (2561). ความสัมพันธ์ระหว่างการพัฒนาสมรรถนะด้านวิชาชีพบัญชีกับประสิทธิภาพการปฏิบัติงานของนักวิชาการเงินและบัญชี มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน. วารสารสถาบันวิจัยและพัฒนา มหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคาม, 5(2), 53-62

ปิยพงศ์ ประไพศรี และคณะ. (2563). แนวทางการพัฒนาวิชาชีพของผู้ประกอบวิชาชีพบัญชีในยุคดิจิทัล. วารสารมหาจุฬานาครทรรศน์, 7(12), 421-435.

พัชรี วิชัยดิษฐ์ และชลกนก โฆษิตคณิน. (2564). แนวทางการพัฒนาศักยภาพทางการบัญชีที่มีผลต่อความสำเร็จในการปฏิบัติงานของนักบัญชีสหกรณ์ในประเทศไทย.วารสารศิลปะการจัดการ, 5(1), 150-164.

เพ็ญนภา เกื้อเกตุ และคณะ. (2563). ความสัมพันธ์ระหว่างความเป็นมืออาชีพของนักบัญชียุคดิจิทัลและประสิทธิภาพการดำเนินงานของกิจการห้างหุ้นส่วนจำกัดในจังหวัดยะลา. วารสารการบัญชีและการจัดการ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม,12(1),153-166.

มณีรัตน์ ข่ายพิลาป, และเนตรดาว ชัยเขต. (2562). ปัจจัยที่มีผลต่อการเพิ่มประสิทธิภาพการปฏิบัติงานด้วยระบบสารสนเทศด้านการเงินและบัญชีในความร่วมมือ 5 สถาบัน.วารสารการเมืองการบริหารและกฎหมาย, 11(3), 437-464.

ระบบข้อมูลกลางองค์กรปกครองสวนท้องถิ่น กรมส่งเสริมการปกครองส่วนท้องถิ่น, (2565). ข้อมูล อปท. สืบค้นเมื่อวันที่ 20 พฤษภาคม 2565, จาก https://info.dla.go.th.

สร้อยเพชร ลิสนิ และบุตรศรินทร์ แสงสว่าง. (2564). แนวทางการพัฒนาคุณลักษณะของนักบัญชียุคดิจิทัลที่ส่งผลสัมฤทธิ์ต่อการปฏิบัติงานของนิติบุคคลในจังหวัดกาญจนบุรี. วารสารสภาวิชาชีพบัญชี, 3(9), 34-48.

สาวิตรี ละครพล. (2563). ปัจจัยที่ส่งผลต่อความสำเร็จของพนักงานขาย สำหรับองค์การธุรกิจผลิตยาแผนปัจจุบันในประเทศไทย.วารสารเครือข่ายส่งเสริมการวิจัยทางมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์, 3(3), 39-53.

สิริพร กรรณศร, และประเวศ เพ็ญวุฒิกุล. (2564). คุณค่าทางวิชาชีพและจรรยาบรรณที่ส่งผลต่อความสำเร็จในการปฏิบัติงานของนักบัญชีในเขตภาคกลาง. วารสารวิชาการมหาวิทยาลัยราชภัฏศรีสะเกษ, 15(2), 1-18.

สุพัตรา รักการศิลป์และคณะ. (2565). ความสัมพันธ์ระหว่างจรรยาบรรณวิชาชีพบัญชีกับประสิทธิภาพการทางานของนักบัญชีในเขตภาคตะวันออกเฉียงเหนือ. วารสารมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์, 20(1), 228-248.

สำนักงานคณะกรรมการดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ. (2562). ประกาศเรื่อง นโยบายและแผนระดับชาติว่าด้วยการพัฒนาดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคม (9 เมษายน 2562) ราชกิจจานุเบกษา. สืบค้นเมื่อ 19 พฤษภาคม 2565, จาก https://www.onde.go.th/assets/portals/1/files/นโยบายและแผนระดับชาติ.PDF.

Mahmud, Soetjipto, B. E., & Wardoyo, C. (2022). The Influence of Professional Ethics and Emotional Intelligence Implementation on Auditor Performance. Journal of Social Science. 3(3), 508-515.

Odunayo Olarewaju & Thabiso Msomi. (2021). Accounting skills and the sustainability of Small and Medium Enterprises in South Africa. Journal of Accounting and Management, 11(1),111-121.

Yamane, Taro. (1973). Statistics: an introductory analysis. 3rd ed. NewYork: Harper & Row Pub.