การบริหารโครงการสู่ความสำเร็จอย่างมืออาชีพ
Main Article Content
บทคัดย่อ
บทความวิชาการนี้มีวัตถุประสงค์ เพื่ออธิบายการบริหารโครงการสู่ความสำเร็จอย่างมืออาชีพ โดยทำการศึกษาและวิเคราะห์ข้อมูลบนหลักพื้นฐานของแนวคิดและทฤษฎี ซึ่งความผันผวนของสภาพแวดล้อมในปัจจุบันที่เปลี่ยนแปลงรวดเร็ว ส่งผลให้การบริหารงานจำเป็นต้องมีความยืดหยุ่น สอดคล้องและเหมาะสมกับบริบทขององค์กรโดยการบริหารโครงการเป็นเทคนิคหนึ่งที่องค์กรนำมาใช้ในการจัดการทรัพยากรต่าง ๆ ที่มีอยู่อย่างเหมาะสมและสมบูรณ์ที่สุด เพื่อให้การดำเนินโครงการบรรลุวัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ ดังนั้นผู้บริหารโครงการซึ่งเป็นกลไกสำคัญในการขับเคลื่อนกิจกรรม และมีอิทธิพลต่อคุณภาพของผลลัพธ์ที่เกิดจากการบริหารจัดการ จึงต้องมีลักษณะความเป็นมืออาชีพ และมีการบริหารงานอย่างมีกลยุทธ์ โดยใช้ความรู้ การคิดวิเคราะห์ ความสามารถทางการบริหาร ในการวางระบบการบริหารโครงการที่มีเป้าหมายชัดเจน รวมถึงการมีภาวะผู้นำแบบร่วมมือกับทีมงานโครงการ เพื่อสร้างวิสัยทัศน์ กลยุทธ์และกลวิธีการดำเนินโครงการ สร้างวัตนธรรมการทำงานเชิงสร้างสรรค์ ที่สอดคล้องกับบริบทของโครงการโดยเฉพาะ อันนำไปสู่ความสำเร็จที่เป็นไปตามแผนงาน เหมาะสมกับเวลาและงบประมาณ มีคุณภาพเป็นไปตามมาตรฐานที่กำหนด
Article Details
This work is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International License.
References
พรชัย องค์วงศ์สกุล. (2563). การบริหารโครงการอย่างมืออาชีพ (Professional Project Management). วารสารEngineering Today, 18(175), 69-73.
ไพบูลย์ปัญญายุทธการ. (2565).12 Principles สำหรับการบริหารโครงการ อ้างอิงตาม PMBOK 7th. สืบค้นเมื่อ 10 มกราคม 2567, จาก https://shorturl.asia/Zu9Ul.
Castro, M. S., Bahli, B., Farias Filho, J. R., &Barcaui, A. (2019). A contemporary vision of project success criteria. Brazilian Journal of Operations & Production Management, 16(1), 66–77.
Fewings, Peter &Henjewele, Christian. (2019). Construction Project Management: An Integrated Approach. London:Routledge.
Harold Kerzner. (2018). Project Management Best Practices: Achieving Global Excellence. New York: John Wiley & Sons.
Jack Gido; Jim Clements & Rose Baker. (2018). Successful project management. Boston, MA, USA: Cengage Learning.
Jonathan L. Portny& Stanley E. Portny. (2022). Project Management for Dummies. New York: John Wiley & Sons.
Kenneth Aggor, Lionel de Souza, Essam Abdalla, and Folly Somado-Hemazro. (2019). Examining Project Execution on Time, Quality, and Budget within the Ghanaian Construction Industry. Elixir Project & Quality, 127, 52688-52700.
Madhawa, Herath & Prasad, Perera. (2023). Overview of Generic Project Management Methodologies, Frameworks, and Standards, Managing Information Technology Projects. World Scientific Publishing Co. Pte. Ltd.
Mateo, J.R., Carral, L., Diaz, E., Fraguela, J.A., & Iglesias, G. (2018). Complexity and Project Management: A General Overview. Complexity Hindawi, 2018, 1-10.
Sarah Isniah, Humiras Hardi Purba, Fransisca Debora. (2020). Plan do check action (PDCA) method: literature review and research issues. JurnalSistem dan ManajemenIndustri, 4(1), 72-81.
Sarath, Herath & Siong, Choy Chong. (2021). Key Components and Critical Success Factors for Project Management Success: A Literature Review. Operations and Supply Chain Management, 14(4), 431-443.
Wen, Q., & Qiang, M. (2019). Project Managers’ Competences in Managing Project Closing. Project Management Journal, 50(3), 361-375.