กลวิธีการบรรเลงจะเข้ในเพลงเดี่ยวทะแย สามชั้น

Main Article Content

ณรงค์ เขียนทองกุล

Abstract

กลวิธีการบรรเลงจะเข้ที่นิยมใช้ในเพลงเดี่ยวจะเข้ที่นำมาใช้ในเพลงเดี่ยวทะแย สามชั้น มีทั้งหมด 10 รูปแบบ ได้แก่ รูปแบบที่ 1 การดีดเก็บ รูปแบบที่ 2 การดีดรัวหรือการดีดกรอเสียง รูปแบบที่ 3 การดีดสะบัด มี 3 รูปแบบ คือ สะบัดเสียงเดียว สะบัดสองเสียง และสะบัดสามเสียง รูปแบบที่ 4 การดีดปริบ รูปแบบที่ 5 การดีดกระทบสาย มี 2 แบบ คือ การดีดกระทบสองสายและกระทบสามสาย รูปแบบที่ 6 การดีดทิงนอย รูปแบบที่ 7 การรูดสาย คือ การรูดสายจากเสียงต่าไปเสียงสูง รูปแบบที่ 8 การดีดย้อยเสียง รูปแบบที่ 9 การดีดกล้าเสียง และรูปแบบที่ 10 การดีดขยี้

Article Details

Section
Research Articles
Author Biography

ณรงค์ เขียนทองกุล

ภาควิชาดนตรี คณะมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์

References

เกรียงศักดิ์ เจริญวงศ์ศักดิ์. (2545). การคิดเชิงสร้างสรรค์. กรุงเทพฯ: ซัคเซสมีเดีย.

เกียรติศักดิ์ ทองจันทร์. (2548). วิเคราะห์เดี่ยวจะเข้เพลงกราวใน: กรณีศึกษาทางนางมหาเทพกษัตรสมุห (ครูบรรเลง สาคริก) (วิทยานิพนธ์มหาบัณฑิต สาขาดุริยางค์ไทย). จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, กรุงเทพฯ. คณะอนุกรรมการโครงการส่งเสริมการดนตรีไทย
สำนักมาตรฐานอุดมศึกษา สานักงานปลัดทบวงมหาวิทยาลัย. (2538). เกณฑ์มาตรฐานสาขาวิชาและวิชาชีพดนตรีไทย. กรุงเทพฯ: ประกายพรึก.

ณรงค์ชัย ปิฎกรัชต์. (2557). สารานุกรมเพลงไทย. นครปฐม: มหาวิทยาลัยมหิดล.

ปกรณ์ รอดช้างเผื่อน. (2549). รายงานวิจัยเรื่องงานประพันธ์เพลงเดี่ยว เพลงทยอยเดี่ยวสาหรับจะเข้. กรุงเทพฯ: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

พรอุษา แก้วสว่าง. (2552). วิเคราะห์การขับร้องเพลงทะแย. (วิทยานิพนธ์มหาบัณฑิต สาขาดุริยางค์ไทย). จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, กรุงเทพฯ.

พิพัฒน์ สอนใย. (2547). การศึกษาเพลงเดี่ยวจะเข้สำเนียงมอญ (วิทยานิพนธ์มหาบัณฑิต สาขามานุษยดุริยางควิทยา). มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ, กรุงเทพฯ.

พูนพิศ อมาตยกุล. (2550). จดหมายเหตุดนตรี 5 รัชกาล. กรุงเทพฯ: มูลนิธิหลวงประดิษฐไพเราะ (ศร ศิลปบรรเลง).

เพลงตับมโหรีของเก่า. (2529). กรุงเทพฯ: รักษ์สิปป์.

มนตรี ตราโมท. (2538). ดุริยสาส์น. กรุงเทพฯ: ธนาคารกสิกรไทย.

มนตรี ตราโมท และวิเชียร กุลตัณฑ์. (2523). ฟังและเข้าใจเพลงไทย. กรุงเทพฯ: ไทยเขษม.

ราชบัณฑิตยสถาน. (2549). สารานุกรมศัพท์ดนตรีไทย ภาคประวัติและบทร้องเพลงเถา ฉบับราชบัณฑิตยสถาน (พิมพ์ครั้งที่ 4). กรุงเทพฯ: ด่านสุทธาการพิมพ์.

เรื่องดนตรีไทยในพิธีเทศน์มหาชาติ. (ม.ป.ป.). สืบค้นเมื่อ 11 กรกฎาคม 2559. จาก http://www.nr.ac.th/w/Art/pdf/3.pdf.

วรวุฒิ เข็มเพชร. (2546). การศึกษาเพลงเดี่ยวแขกมอญ สามชั้น ทางจะเข้ (วิทยานิพนธ์มหาบัณฑิต สาขามานุษยดุริยางควิทยา). มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ, กรุงเทพฯ.

สงัด ภูเขาทอง. (2532). การดนตรีไทยและทางเข้าสู่ดนตรีไทย. กรุงเทพฯ: เรือนแก้วการพิมพ์.

อินทนิล บุญประกอบ. (2552). ประวัติและบทร้องนาฏศิลป์ไทยระดับมัธยมต้น. สืบค้นเมื่อ 22 ตุลาคม 2559. จาก http://taopuyimbunhotmail.blogspot.com/2009/01/blog-post126.html.