เพลงพื้นบ้านภาคกลาง ศิลปะการสอนเพศศึกษาแบบชาวบ้านไทย

Main Article Content

บัวผัน สุพรรณยศ

Abstract

This article aims to analyze central Thai traditional folk songs in order to: 1) examine central Thai traditional folksongs which are related to sex education both oral transmitted and written documents 2) to analyze knowledge about sex education in central Thai traditional folk songs and 3) to analyze the art of sex education of local Thai people.
According to the result of field data collection during January 2016 – January 2017, with the total of 26 times in 13 provinces in central Thailand, the researchers have selected traditional folk songs, which included contents about sex and were investigated that they have been relayed for more than 30 years through oral transmitted and written 50 texts from 35 music teachers. A collection of songs with 150 lines and the content of the songs stated about sex and covered 7 main points about body, mind, social factors and culture which are: 1) changes of body parts and sexual desire 2) body parts and sexual behavior 3) pregnancy and birth 4) flirtation and emergence of male-female relationship 5) choosing a partner 6) role and responsibility of husband and wife, father and mother and son and daughter, and 7) problems in marriage and solutions.
The result of the analysis of sex education of Thai local people found that they mixed the art of song writing with the performing arts appropriately and interestingly. The art of song writing has 5 significant techniques which are: 1) the creative writing of lyrics which related to melodies and the elements of performing 2) word choices which are simple and straight-forward 3) using metaphors and various connotations 4) using sermon phrases and allegories, and 5) using questions and riddles. The performing art has 5 significant techniques which are: 1) selection of lyrics, melodies and jokes regarding the performance context 2) singing, speaking and movements 3) aptitude and wisdom in solving immediate problems and interaction with the audience 4) role playing and 5) using music and performing accessories.
In regard to the result of the study, it indicates that central Thai traditional folk songs are mediums in sex education through the art of folk teaching which implied indirectly, smartly and enjoyably.

Article Details

Section
Research Articles

References

กฤตยา อาชวนิจกุล. (2554). เพศวิถีที่กำลังเปลี่ยนแปลงไปในสังคมไทย ใน ประชากรและสังคม. 43-66.

ทองใบ ปฏิภาโณ, พระมหา. (2527). รวมพิธีทำขวัญ. กรุงเทพฯ: อำนวยสาส์น.

ธรรมนิเทศ (ระแบบ จิตญาโณ), พระราช. (2537). นิเทศธรรม (พิมพ์ครั้งที่ 2). กรุงเทพฯ: ศูนย์ส่งเสริมพระพุทธศาสนาแห่งประเทศไทย.

นันทิยา สุคนธปฏิภาค. (2551). เรื่อง “เพศ” ใน คู่มือการเรียนการสอนเรื่อง “เพศศึกษาในสถานศึกษาไทย. กรุงเทพฯ: มูลนิธิสร้างความเข้าใจเรื่องสุขภาพ สำนักงานกองทุนสนับสนุนสร้างเสริมสุขภาพ และสถาบันวิจัยประชากรและสังคม มหาวิทยาลัยมหิดล.

บัวผัน สุพรรณยศ. (2553). ภูมิปัญญาเรื่องความรักในเพลงพื้นบ้าน. วรรณวิทัศน์, 10. 139-170.

พิมพวัลย์ บุญมงคล และคณะ. (2559). รายงานผลการวิจัยเพื่อทบทวนการสอนเพศวิถีศึกษาในสถานศึกษาไทย. กรุงเทพฯ: กระทรวงศึกษาธิการและองค์การยูนิเซฟ ประเทศไทย.

มลฤดี ลาพิมลและคณะ. (2551). วาทกรรมเรื่องเพศในหลักสูตรเพศศึกษาแนวใหม่: มุมมอง การต่อรอง และการประยุกต์ใช้. กรุงเทพฯ: มูลนิธิสร้างความเข้าใจเรื่องสุขภาพผู้หญิงและสถาบันวิจัยประชากรและสังคม มหาวิทยาลัยมหิดล.
วัยรุ่นไทยเข้าใจเพศศึกษา. สืบค้นเมื่อ 29 มิถุนายน 2561 จาก http://arts.kmutt.ac.th/ssc210/GroupProject/G244/G07/pages/know_home.html.

วิลาสินี พิพิธกุล. (2547). วาทกรรมเรื่องเพศในหนังสือพิมพ์. สืบค้นเมื่อ 15 กรกฎาคม 2561 จาก http://www.tja.or.th/old/speak.doc.

วุฒิชัย จายะพันธุ์. (2547). บูรณาการของการแสดงลำตัดกับสื่อมวลชน: กรณีศึกษา คณะหวังเต๊ะ คณะแม่ประยูร ยมเยี่ยม และ คณะแม่ขวัญจิตร ศรีประจันต์ (วิทยานิพนธ์มหาบัณฑิต สาขาสื่อสารมวลชน). มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, กรุงเทพฯ.

ศิริพร จิรวัฒน์กุล และคณะ. 2556. การรับรู้ของวัยรุ่นชายเกี่ยวกับความรักและความสัมพันธ์ทางเพศ. วารสารสมาคมจิตแพทย์แห่งประเทศไทย, 58(1), 75-88.

สมชาย ฐานวุฑโฑ, พระมหา. (2548). มงคลชีวิต ฉบับ “ทางก้าวหน้า”. กรุงเทพฯ: ชมรมพุทธศาสตร์สากล ในอุปถัมภ์สมเด็จพระมหารัชมังคลาจารย์.

สมบัติ สมศรีพลอย, นาวาอากาศโท. (2559). กลอนแดง: วัจนกรรมบริภาษยอกย้อนในเพลงอีแซว. วารสารมหาวิทยาลัยศิลปากร, 36(2), 113-126.

สมาคมวางแผนครอบครัวแห่งประเทศไทย. (2525). เพศศึกษา. กรุงเทพฯ: โอเดียนสโตร์.

สุกัญญา ภัทราชัย. (2540). เพลงปฏิพากย์: บทเพลงแห่งปฏิภาณของชาวบ้านไทย. กรุงเทพฯ: โครงการตำราคณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

สุกัญญา สุจฉายา. (2523). เพลงปฏิพากย์: การศึกษาในเชิงวรรณคดีวิเคราะห์ (วิทยานิพนธ์มหาบัณฑิต สาขาภาษาไทย). จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, กรุงเทพฯ.

สุคนธ์ แสนหมื่น. (2549). การศึกษาเพลงปรบไก่ดอนข่อย เพชรบุรี (ปริญญานิพนธ์มหาบัณฑิต สาขามานุษยดุริยางควิทยา). มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ, กรุงเทพฯ.

สุชีพ ปุญญานุภาพ. (2539). พระไตรปิฎกฉบับสาหรับประชาชน (พิมพ์ครั้งที่ 16). กรุงเทพฯ: มูลนิธิมหามกุฏราชวิทยาลัย ในพระบรมราชูปถัมภ์.

สุมิตตา สว่างทุกข์ และปาริชาติ ทาโน. (2558). การศึกษาการตระหนักรู้ในพฤติกรรมเสี่ยงทางเพศกับพฤติกรรมเสี่ยงทางเพศของนักเรียนวัยรุ่น. วารสารเกื้อการุณย์, 22(2), 41-56.

สุวัทนา อารีพรรค. (2528). สมรรถภาพทางเพศและความบกพร่องทางเพศ. กรุงเทพฯ: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

สำนักอนามัยการเจริญพันธุ์. (2557). การสื่อสารเรื่องเพศในครอบครัวไทย. กรุงเทพฯ: กรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข.

องค์การแพธ (PATH). (2550). แนวทางการจัดการเรียนรู้เพศศึกษารอบด้านในสถานศึกษาสำหรับผู้บริหารสถานศึกษา. กรุงเทพฯ: เออร์เจนท์ แทค.

อานนท์ กาญจนโพธิ์. (2554). เพลงปรบไก่: การละเล่นสมัยอยุธยาที่หยาบคายที่สุดของไทย ใน เอกสารประกอบงานเกริกวิชาการ (วันที่ 3 กุมภาพันธ์ 2554). กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยเกริก.

อุดมพร ยิ่งไพบูลย์สุข และเปรมวดี คฤหเดช. (2554). เพศวิถีของนักศึกษาในเขตรัตนโกสินทร์ กรณีศึกษามหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา. กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยราชภัฏ สวนสุนันทา.

เอนก นาวิกมูล. (2527). เพลงนอกศตวรรษ (พิมพ์ครั้งที่ 3). กรุงเทพฯ: เมืองโบราณ.

เอนก อารีพรรค และสุวัทนา อารีพรรค. (2525). เรียนรู้เรื่องเพศ. กรุงเทพฯ: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

https://sites.google.com/site/pmtcsex/khwam-hmay-khx เข้าถึงเมื่อวันที่ 29 มิถุนายน 2561
Suphanyot, B. (2007). Sexuality in Thai Folk Songs. MANUSYA, 14, 92-101.

การแสดง
คณะโกมินทร์ พูลเขตร์กิจ-ทองใบ จินดา. (2560, 2 มกราคม). การแสดงเพลงฉ่อย.

คณะขวัญจิต ศรีประจันต์. (2559, 24 พฤษภาคม) (2560, 2 มกราคม). การแสดงเพลงพื้นบ้าน.

คณะ จ. แสงทองรวมศิลป์. (2559, 19 กรกฎาคม). การแสดงเพลงอีแซว.

คณะชูรัก-สุภาพร. (2559, 31 ธันวาคม). การแสดงลำตัด.

คณะทองคำ แก้วทิพย์. (2559, 7 มีนาคม). การแสดง.

คณะนายลิบ หอมหวน. (2559, 19 พฤษภาคม). การแสดงเพลงปรบไก่.

คณะนายหล่อ เคลือบสำริต. (2559, 13 เมษายน). การแสดงเพลงปรบไก่.

คณะลำจวน สวนแตง, (2558, 4 พฤศจิกายน). การแสดง.

คณะสมาน โพธิ์จันทร์. (2559, 25 มิถุนายน). การทำขวัญนาค.

คณะสายน เพชรสระกระโจม. (2559, 13 สิงหาคม). การแสดงเพลงอีแซว.

คณะสุจินต์ ศรีประจันต์. (2554, 1 พฤศจิกายน). การแสดงเพลงอีแซว.

คณะสุรินทร์ ศรีประจันต์. (2559, 1 กรกฎาคม). การทำขวัญนาค.

สัมภาษณ์
เกลียว เสร็จกิจ หรือขวัญจิต ศรีประจันต์. (2559, 6 กรกฎาคม, 16 ธันวาคม), [บทสัมภาษณ์].

โกมินทร์ พูลเขตร์กิจ (2560, 2 มกราคม). [บทสัมภาษณ์].

จิราภรณ์ บุญจันทร์ และสุธาทิพย์ ธราพร. (2559, 16 ตุลาคม). [บทสัมภาษณ์].

จำนงค์ เสร็จกิจ. (2559, 16 ธันวาคม). [บทสัมภาษณ์].

ชินกร ไกรลาศ หรือชิน ฝ้ายเทศ. (2559, 12 กรกฎาคม). [บทสัมภาษณ์].

ทองหลอม เขตวิทย์ หรือทองใบ จินดา. (2560, 2 มกราคม). [บทสัมภาษณ์].

นักชาย จิเมฆ. (2559, 18 กรกฎาคม). [บทสัมภาษณ์].

พะเยาว์ พันธุ์ลาภะ. (2560, 2 มกราคม). [บทสัมภาษณ์].

เยื้อง ชูศรี. (2559, 14 กุมภาพันธ์). [บทสัมภาษณ์].

ลิบ หอมหวน. (2559, 14 กุมภาพันธ์). [บทสัมภาษณ์].

วิเชียร ขุนแก้วเกษงาม. (2560, 2 มกราคม). [บทสัมภาษณ์].

เอกสารตาราเพลงต้นฉบับลายมือ
โก๊ะ โป่งรื่น. (ม.ป.ป.). เอกสารตำราเพลงต้นฉบับลายมือ. (ยน โพธิพล และสิทธิพงค์ พรหมรส, ผู้สืบทอด).

โก๊ะ โป่งรื่น. (ม.ป.ป.). เอกสารสมุดเพลงต้นฉบับลายมือ. (สมศักดิ์ กล่ำพบุตร์ และสิทธิพงค์ พรหมรส, ผู้สืบทอด).

คล้าย แสงสี. (2486). เอกสารตำราเพลงต้นฉบับลายมือ เล่มที่ 1. (สมบูรณ์ สุพรรณยศ, ผู้สืบทอด).

คล้าย แสงสี. (2524). เอกสารตำราเพลงต้นฉบับลายมือ เล่มที่ 2, (สมบูรณ์ สุพรรณยศ, ผู้สืบทอด).

เคลิ้ม ปักษี. (ม.ป.ป.). เอกสารตำราเพลงต้นฉบับลายมือ เล่มที่ 2. (พันเอกประสิทธ์ ปักษี และบุญลือ ปักษี, ผู้สืบทอด).

จำนงค์ เสร็จกิจ. (2532). เอกสารตำราเพลงต้นฉบับลายมือ เล่ม 1-2.

ช้าม หอมจันทร์. (ม.ป.ป.). เอกสารตำราเพลงต้นฉบับลายมือ เล่มที่ 1. (สมบูรณ์ สุพรรณยศ,ผู้สืบทอด).

ประจิน ฉะอ้อน. (ม.ป.ป.). เอกสารตำราเพลงต้นฉบับลายมือ เล่มที่ 1-5.

ประจิน ฉะอ้อน และสุชิน ทับมี. (ม.ป.ป.). เอกสารสมุดลำตัดต้นฉบับลายมือของ ครูสังเวียน ทับมี เล่มที่ 2. (ประจิน ฉะอ้อน และสุชิน ทับมี, ผู้สืบทอด).

โปรย เสร็จกิจ. (2506). เอกสารตำราเพลงต้นฉบับลายมือ. (เกลียว เสร็จกิจ, ผู้สืบทอด).

โปรย เสร็จกิจ. (2511). เอกสารตำราเพลงต้นฉบับลายมือ. (เกลียว เสร็จกิจ, ผู้สืบทอด).

พร้อม ปานลอยวงศ์ (ม.ป.ป.). เอกสารตำราเพลงต้นฉบับลายมือ. (สมบูรณ์ สุพรรณยศ, ผู้สืบทอด).

พราหม ศรีหรั่งไพโรจน์ (ม.ป.ป.). เอกสารตำราต้นฉบับลายมือ เล่มที่ 1. (บัวผัน สุพรรณยศ, ผู้สืบทอด).

พะเยาว์ พันธุ์ลาภะ. (ม.ป.ป.). เอกสารตำราเพลงต้นฉบับลายมือ เล่มที่ 1-5.

มังกร บุญเสริม. (ม.ป.ป.). เอกสารตำราเพลงต้นฉบับลายมือ เล่มที่ 1. (อารมณ์ บุญเสริม, ผู้สืบทอด).

ยน โพธิพล. (ม.ป.ป.). เอกสารตำราเพลงต้นฉบับลายมือ. (สิทธิพงค์ พรหมรส, ผู้สืบทอด).

สิทธิพงศ์ พรหมรส. (2511). เอกสารตำราเพลงต้นฉบับลายมือ พิกุล ดอกรัก.

ไสว สุวรรณประทีป. (ม.ป.ป.). เอกสารตำราเพลงต้นฉบับลายมือ เล่มที่ 1. (สำเนียง ชาวปลายนา, ผู้สืบทอด).

ไสว สุวรรณประทีป (ม.ป.ป.). เอกสารตำราเพลงต้นฉบับลายมือ เล่มที่ 2. (จำนงค์ เสร็จกิจ, ผู้สืบทอด).