กลวิธีการเสนอความคิดเรื่องความรักชาติในนิราศ รัชสมัยพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว
Main Article Content
Abstract
This article focuses on the techniques for instilling patriotism in five poems of the nirat genre composed in the reign of His Majesty King Vajiravudh (Rama VI): Kap He Ruea (King Vajiravudh’s royal barge paddling shanty) (1914), Nirat Maha Waree Pee Maseng (1917), Nirat Pen Tha-Han (1917), Nirat Lerk-Phai (1918) and Nirat Ma-lay-they-thai (1922). It was found that the selected nirat instilled patriotism in an interesting way: the poets linked the idea of a man’s love for a woman with patriotism. They expanded the use lamentation and criticism from communication between two individuals, which is the hallmark of the nirat genre, to communication with the people at large, who are held to be the strength of the nation, so that they would become aware of the problems besetting the nation at that time, such as the problem of the lack of soldiers volunteering to fight in World War I, the problem of the Great Floods of 1917 in Thailand, the problem of polictical instability, the limitations of the Royal Navy in the country. The poets advised and admonished the people to express their love of the country by working together to solve the problems that had arisen. The results of the study show the literary and social value of the nirat in this period and the views of poets at this time when society was facing change. They also show the prominent characteristics of the content of nirat which played a role in guiding society and arousing the people to join in solving problems for improving their quality of life and the prosperity and progress of the nation. The study is an approach to investigating relations in the connections between literature and society and between nirat of succeeding periods.
Article Details
References
กีรติ ธนะไชย. (2551). ปางอิเหนาเศร้าสุดถึงบุษบา: สุนทรภู่กับการสร้างอารมณ์สะเทือนใจในนิราศอิเหนา. วารสารมนุษยศาสตร์, 15(2), 17-51.
ชลดา เรืองรักษ์ลิขิต. (2532). วรรณคดีวิจารณ์ยุคที่ได้รับอิทธิพลจากตะวันตกแล้ว. ปาจาริยสารฉบับพิเศษ ทอไหมในสายน้า 200 ปี วรรณคดีวิจารณ์ไทย, (น. 63 -100). กรุงเทพฯ: พลพันธ์การพิมพ์,.
ชลดา เรืองรักษ์ลิขิต. (2552ก). กาพย์เห่ชมเครื่องคาวหวาน กาพย์เห่นิราศแรมรสร้าง. กรุงเทพฯ: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
ชลดา เรืองรักษ์ลิขิต. (2552ข). กาพย์เห่เรือพระราชนิพนธ์ของพระบาทสมเด็จ พระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว: ศิลปะการประพันธ์ “เห่เรือยุคใหม่”.
วารสารนิด้าภาษาและการสื่อสาร, 14(15), 39-64.
ชลธิรา กลัดอยู่ และคณะ. (2517). การใช้ภาษา. กรุงเทพฯ: เคล็ดไทย.
ชลธิรา สัตยาวัฒนา และคณะ. (2558). ครูเทพ (เจ้าพระยาธรรมศักดิ์มนตรี) (พิมพ์ครั้งที่ 2). กรุงเทพฯ: ผีเสื้อ.
ธวัชชัย ดุสิตกุล. (2547). บทโขนละครพระราชนิพนธ์ในพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว (วิทยานิพนธ์มหาบัณฑิต สาขาภาษาไทย). จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, กรุงเทพฯ.
ปิยนาถ บุนนาค. (2550). ประวัติศาสตร์ไทยสมัยใหม่ (ตั้งแต่การทำสนธิสัญญาบาวริ่ง ถึงเหตุการณ์ 14 ตุลาคม พ.ศ.2516). กรุงเทพฯ: โครงการเผยแพร่ผลงานวิชาการ คณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
เพ็ญศรี ดุ๊ก. (2554). การต่างประเทศกับเอกราชและอธิปไตยของไทย (ตั้งแต่สมัยรัชกาลที่ 4 ถึงสิ้นสมัยจอมพล ป. พิบูลสงคราม). กรุงเทพฯ: ราชบัณฑิตยสถาน.
มงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว, พระบาทสมเด็จพระ. (2517). พระบรมราโชบายในการประพันธ์ โคลงศุภลักษณ์วาดรูป โคลงนิราศประลองยุทธ สักระวาชายทะเล สักระวาหน้าหนาว นิราศมะเหลเถไถ. กรุงเทพฯ: คุรุสภา.
มงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว, พระบาทสมเด็จพระ. (2530). ปลุกใจเสือป่า. กรุงเทพฯ: มูลนิธิพระบรมราชานุสรณ์พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัวในพระบรมราชูปถัมภ์.
มงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว, พระบาทสมเด็จพระ. (2540). หลักราชการ. (พิมพ์ครั้งที่ 50). นนทบุรี: มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช.
มนต์จันทร์ อินทรจันทร์. (2543). เสภาและพัฒนาการของวรรณคดีเสภา. (วิทยานิพนธ์มหาบัณฑิต สาขาภาษาไทย), จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, กรุงเทพฯ.
รื่นฤทัย สัจจพันธุ์. (2556). กาพย์เห่เรือจากสมัยอยุธยาถึงสมัยรัชสมัยพระบาทสมเด็จ พระเจ้าอยู่หัวภูมิพลอดุลยเดช. กรุงเทพฯ: แสงดาว.
วัชรี รมยะนันทน์ และญาดา อรุณเวช. (2538). เพลงสักวา โครงการวิจัยแม่บทเรื่อง วรรณคดีเพื่อความสุขของคนในชาติ: วรรณกรรมเพลงไทย. กรุงเทพฯ: โครงการเผยแพร่ผลงานวิจัย จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
ศิลปากร, กรม. (2549). บทละครเรื่องรามเกียรติ์ พระราชนิพนธ์ในพระบาทสมเด็จ พระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช เล่ม 2. (พิมพ์ครั้งที่ 10). กรุงเทพฯ: กองวรรณกรรมและประวัติศาสตร์ กรมศิลปากร.
สุจิตต์ วงษ์เทศ. (2545). นำเรื่องนิราศมหาวารีปีมะเส็งและแหล่เทศน์น้ำท่วมของนายเจริญ. ประวัติศาสตร์สังคมและวัฒนธรรมจากวรรณคดี กวีสยามนำเที่ยวกรุงเทพฯ. กรุงเทพฯ: มติชน, (น. 297-315).
สุจิตรา จงสถิตย์วัฒนา. (2538). ม้าก้านกล้วย นิราศแรมร้างจากฝัน. วารสารภาษาและวรรณคดีไทย, 12(1-2), 75-86.
สุมาลี ลิ้มประเสริฐ. (2547). การสร้างเรือรบหลวง “พระร่วง” กับบทละครพระราชนิพนธ์ เรื่อง มหาตมะ. วารสารมหาวิทยาลัยศิลปากร, 24(2), 231-261.
โสมทัต เทเวศร์. (2522). นิราสไพ่: รวมนิราสเลิกไพ่และนิราสเปนทหาร โดยนายเจริญ. กรุงเทพฯ: เรืองศิลป์.
อมรดรุณารักษ์, จมื่น (แจ่ม สุนทรเวช). (2512). พระราชกรณียกิจสำคัญในพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว เล่มที่ 6 เรื่องเหตุที่พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัวฯ ทรงเปลี่ยนธงชาติไทย ล้นเกล้าฯ รัชกาลที่ 6 สำรวจคอคอดกระ รัชกาลที่ 6 โปรดเกล้าฯ ให้เลิกหวย ก.ข. ที่ประทับชายทะเลของรัชกาลที่ 6 กำเนิดสวนลุมพินี. กรุงเทพฯ: องค์การค้าของคุรุสภา.
อัญชลี ภู่ผะกา. (2553). พระราชนิพนธ์ในพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวและพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว: วรรณคดีกับการสร้างชาติ. (วิทยานิพนธ์ดุษฎีบัณฑิต สาขาภาษาไทย). จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, กรุงเทพฯ.