การออกแบบหน่วยการเรียนรู้ภาษาไทยโดยใช้แนวคิดวรรณคดีเป็นฐาน Concept, Application and Critical Concerns
Main Article Content
Abstract
Although Thai literature has been set as content in Thai basic curriculum for a long time, there are still many unsolved problems regarding its teaching and learning which result in negative attitudes towards Thai literature on the part of students. In studying this problem, it was found that the literature-based approach is an effective approach often used for teaching Thai literature. However, there are no articles or empirical studies presenting the use of this approach in designing a Thai language arts learning unit under the Basic Education Core Curriculum B.E. 2551 (A.D. 2008).
This article, therefore, illustrates the design of a Thai language arts learning unit responding to the core curriculum by using the four steps synthesised from the processes of literature-based unit design (Donoghue, 2009) and backward design (Wiggins & McTighe, 1998) - selecting literature, identifying learning indicators, clearly defining key learning outcomes and planning learning management. This article also discusses some critical concerns for implementation so that teachers can apply these four steps in practice correctly and effectively, responding to current Thai educational contexts in teaching Thai literature.
Article Details
References
กระทรวงศึกษาธิการ. (2503ข). หลักสูตรประโยคประถมศึกษาตอนปลาย พุทธศักราช 2503. กรุงเทพฯ: คุรุสภาลาดพร้าว.
กระทรวงศึกษาธิการ. (2503ค). หลักสูตรประโยคมัธยมศึกษาตอนต้น พุทธศักราช 2503 (ม.ศ.1-2-3). กรุงเทพฯ: คุรุสภาลาดพร้าว.
กระทรวงศึกษาธิการ. (2503ง). หลักสูตรประโยคมัธยมศึกษาตอนปลาย พุทธศักราช 2503 (ม.ศ.4-5-6). กรุงเทพฯ: คุรุสภาลาดพร้าว.
กระทรวงศึกษาธิการ. (2551, 8 ธันวาคม). ประกาศกระทรวงศึกษาธิการ เรื่อง วรรณคดีสำหรับการจัดการเรียนการสอน ภาษาไทยตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษา ขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551. สืบค้นเมื่อ 20 กรกฎาคม 2561 จาก https://www.kroobannok.com/news_file/p49384580948.pdf.
กระทรวงศึกษาธิการ. (2552). หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551. กรุงเทพฯ: ชุมนุมสหกรณ์การเกษตรแห่งประเทศไทย.
กระทรวงศึกษาธิการ. (2553). บทอาขยานภาษาไทย กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 (พิมพ์ครั้งที่ 2). กรุงเทพฯ: กระทรวงศึกษาธิการ.
กระทรวงศึกษาธิการ. (2559). ตัวชี้วัดและสาระการเรียนรู้แกนกลางต้องรู้และควรรู้ กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทยตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551. กรุงเทพฯ: กระทรวงศึกษาธิการ.
กระทรวงศึกษาธิการ. (2562). เอกสารแนบท้าย ประกาศกระทรวงศึกษาธิการ เรื่อง มาตรฐานคุณวุฒิระดับปริญญาตรี สาขาครุศาสตร์และสาขาศึกษาศาสตร์ พ.ศ.2561. กรุงเทพฯ: กระทรวงศึกษาธิการ.
กิตติ กิตติศัพท์. (2547). การประเมินผลตามสภาพจริง. วารสารโรงเรียนทหารเรือ, 4(4), 8-18.
กุสุมา รักษมณี. (2534). การวิเคราะห์วรรณคดีไทยตามทฤษฎีวรรณคดีสันสกฤต. กรุงเทพฯ: มูลนิธิโครงการตาราสังคมศาสตร์และมนุษยศาสตร์.
เกสรี ลัดเลีย. (2549). รูปแบบการสอนเพื่อส่งเสริมพัฒนาการด้านภาษาของเด็กปฐมวัย โดยใช้วรรณกรรมเป็นฐาน. วารสารวิชาการมหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา, 1(1), 11-20.
ขออนุญาตเปิดประเด็น เรื่อง ความไม่ชอบวรรณคดีไทยของคนรุ่นใหม่ครับ. (2554, 26 พฤษภาคม). สืบค้นเมื่อ 10 กรกฎาคม 2561 จาก http://www.reurnthai.com/index.php?topic=4422.0
เจตนา นาควัชระ. (2538). ทางไปสู่วัฒนธรรมแห่งการวิจารณ์ (พิมพ์ครั้งที่ 2). กรุงเทพฯ: ดวงกมล.
เฉลิมชัย พันธ์เลิศ. (2540). การพัฒนาโปรแกรมการเรียนการสอนภาษาไทยโดยใช้วรรณกรรมเป็นฐาน สำหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 1 (วิทยานิพนธ์มหาบัณฑิต สาขาประถมศึกษา). จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, กรุงเทพฯ.
ดวงมน จิตรจานงค์. (2536). สุนทรียภาพในภาษาไทย (พิมพ์ครั้งที่ 2). กรุงเทพฯ: ศยาม.
ดารารัตน์ ทัพโต. (2554). การพัฒนาคุณธรรมจริยธรรมด้านความมีวินัยในตนเองสำหรับเด็กปฐมวัยโดยใช้วรรณกรรมเป็นฐาน (วิทยานิพนธ์มหาบัณฑิต สาขาหลักสูตรและการสอน). มหาวิทยาลัยบูรพา, ชลบุรี.
ธันยา พิทธยาพิทักษ์. (2553). การพัฒนากระบวนการเรียนการสอนโดยบูรณาการทฤษฎีสหบทและแนวการสอนอ่านโดยใช้วรรณกรรมเป็นฐาน เพื่อเสริมสร้างความสามารถในการอ่านเชิงสร้างสรรค์ของเด็กอนุบาล (วิทยานิพนธ์ดุษฎีบัณฑิต สาขาการศึกษาปฐมวัย). จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, กรุงเทพฯ.
เนตรชนก รักกาญจนันท์ และศิริวรรณ วณิชวัฒนวรชัย. (2559). การจัดประสบการณ์ การเรียนรู้โดยใช้วรรณกรรมเป็นฐานเพื่อเสริมสร้างทักษะทางสังคมของเด็กปฐมวัย. Verridian E-Journal, Silpakorn University, 9(2), 815-827.
บังอร ศรีกาล. (2553). ผลของการพัฒนาทักษะทางภาษาของเด็กปฐมวัยโดยใช้วรรณกรรมเป็นฐาน (วิทยานิพนธ์มหาบัณฑิต สาขาหลักสูตรและการสอน). มหาวิทยาลัยมหาสารคาม, มหาสารคาม.
บุญเหลือ เทพยสุวรรณ, หม่อมหลวง. (2544). ภาษาไทยวิชาที่ถูกลืม (พิมพ์ครั้งที่ 4). กรุงเทพฯ: บรรณกิจ.
ปรตา หวังดุล และอัญญมณี บุญซื่อ. (2557). การจัดการเรียนการสอนระดับอนุบาลโดยใช้วรรณกรรมเป็นฐาน: การปฏิบัติที่เป็นเลิศของโรงเรียนทุ่งมหาเมฆ. OJED, 9(1), 754-767.
พรทิพย์ ศิริสมบูรณ์เวช. (2547). การพัฒนารูปแบบการสอนวรรณคดีไทยตามทฤษฎีการตอบสนองของผู้อ่าน เพื่อเสริมสร้างความสามารถด้านการตอบสนองต่อวรรณคดี การอ่านเพื่อความเข้าใจ และการคิดไตร่ตรองของนิสิตระดับปริญญาบัณฑิต (วิทยานิพนธ์ดุษฎีบัณฑิต สาขาหลักสูตรและการสอน). จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, กรุงเทพฯ.
พรทิพย์ ศิริสมบูรณ์เวช. (2549). การจัดทำหน่วยการเรียนรู้กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทยโดยใช้แนวคิดฐานวรรณคดี. ใน พิมพ์พันธุ์ เดชะคุปต์ พรทิพย์ ศิริสมบูรณ์เวช และรัชนีกร หงส์พนัส (บ.ก.), ประมวลบทความ เรื่อง หลักสูตรและการพัฒนาหลักสูตรตามแนวปฏิรูปการศึกษา (น. 188-207). กรุงเทพฯ: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
พรทิพย์ แข็งขัน และชยพร กระต่ายทอง. (2553). โมดูล 2 การจัดการเรียนรู้ภาษาไทยแบบบูรณาการ. ใน พรทิพย์ แข็งขัน (บ.ก.), คู่มือฝึกอบรมภาษาไทย ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย โครงการยกระดับคุณภาพครูทั้งระบบตามแผนปฏิบัติการไทยเข้มแข็ง คณะครุศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย และศูนย์เครือข่ายทั่วประเทศ (น. 51-118). กรุงเทพฯ: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
ยินดี รามทอง. (2550). ผลการจัดการเรียนการสอนตามแนวคิดการสอนภาษาแบบองค์รวมโดยใช้วรรณกรรมเป็นฐานที่มีต่อความสามารถในการอ่านจับใจความภาษาไทยและความพึงพอใจของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 1 (วิทยานิพนธ์มหาบัณฑิต สาขาหลักสูตรและการสอน). มหาวิทยาลัยทักษิณ, สงขลา.
วรรณคดีไทย เรียนไปทาไมครับ ?. (2560, 19 ตุลาคม). สืบค้นเมื่อ 10 สิงหาคม 2561 จาก https://pantip.com/topic/36999211.
วิทย์ ศิวะศริยานนท์. (2544). วรรณคดีและวรรณคดีวิจารณ์ (พิมพ์ครั้งที่ 6) .กรุงเทพฯ: ธรรมชาติ.
วิรุฬห์ หุตะวัฒนะ. (2551). ผลของการเรียนการสอนภาษาอังกฤษโดยใช้วรรณคดีเป็นฐาน ที่มีต่อความสามารถในการอ่านและการเขียนภาษาอังกฤษของนักเรียนมัธยมศึกษาตอนปลาย (วิทยานิพนธ์มหาบัณฑิต สาขาการสอนภาษาต่างประเทศ). จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, กรุงเทพฯ.
สิรภัทร ชลศรานนท์ และจินตวีร์ คล้ายสังข์. (2559). การพัฒนารูปแบบการเรียนการสอนด้วยหนังสืออิเล็กทรอนิกส์สามมิติร่วมกับการเรียนการสอนภาษาไทยโดยใช้วรรณคดีเป็นฐานเพื่อส่งเสริมความสามารถด้านการเขียนเชิงบรรยาย สำหรับนักเรียนระดับชั้นประถมศึกษาตอนปลาย. OJED, 11(2), 163-177.
สุนันทา อาจสัตรู, สนิท สัตโยภาส และชาตรี มณีโกศล. (2559). ผลการจัดกิจกรรมการเรียนรู้วรรณคดีกลอนดอกสร้อยรำพึงในป่าช้าแบบบูรณาการตามแนวคิดวรรณคดีเป็นฐาน ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 โรงเรียนส่วนบุญโญปถัมภ์ ลำพูน. วารสารบัณฑิตวิจัย, 7(1), 43-58.
หรรษา นิลวิเชียร. (2544). การสอนภาษาไทยแบบบูรณาการ การพัฒนาหน่วยแนวคิดที่ใช้วรรณกรรมเป็นหลัก. วารสารวิชาการ, 4(5), 10-19.
Custodio, B., & Sutton, M. J. (1998). Literature-based ESL for secondary school students. TESOL Journal, 7(5), 19-23.
Donoghue, M. R. (2009). Language arts: Integrating skills for classroom teaching. Fullerton: SAGE Publications.
Fisher, C. J., & Terry, A. C. (1990). Children’s language and the language arts: A literature-based approach. Sydney: Allyn and Bacon.
Goodman, K. (1986). What’s whole in whole language?. Portsmouth: NH. Heinemann.
Hintze, J. M., & Shapiro, E. S. (1997). Curriculum-based measurement and literature based reading: is curriculum-based measurement meeting the needs of changing reading curricula?. Journal of School Psychology, 35(4), 351-375.
Johnson, D. W. (2002). Meaningful assessment a manageable and cooperative process. USA: Allyn and Bacon.
Kirkpatrick, P., & Dixon, R. (2012). Republics of letters: Literary communities in Australia. Sydney: Sydney University Press.
Nicoll, V., & Roberts, V. (1994). Taking a closer look at literature-based programs. NSW: Primary English Teaching Association.
Ruddell, R. B., & Ruddell, M. R. (1995). Teaching children to read and write: Becoming an influential teacher. Boston: Allyn and Bacon
Slaughter, H. (1988). Indirect and direct teaching in a whole language program. The Reading Teacher, 42(1), 30-34.
The Eberly Center. (2009). What is the difference between formative and summative assessment?. Retrieved September 7th, 2016, https://www.cmu.edu/teaching/assessment/basics/formative-summative.html.
Tisnawati, R. K. (2009). Implementing reader-response theory: An alternative way of teaching literature research report on the reading of booker T Washington's up from slavery. Journal of English and Education, 3(1), 1-14.
Wiggins, G., & McTighe, J. (1998). Understanding by design. Alexandria, VA: Association for Supervision and Curriculum Development.