แดร็กควีน การนำเสนอตัวตนของผู้เข้าแข่งขันในรายการเรียลลิตี้โชว์ “Drag Race Thailand”

Main Article Content

วิภาดา รัตนดิลก ณ ภูเก็ต
ดีอนา คาซา

บทคัดย่อ

บทความวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาบริบทของเหตุการณ์การสื่อสารและกลวิธีทางภาษาในการนำเสนอตัวตนของผู้เข้าแข่งขันในรายการ Drag Race Thailand ซึ่งเป็นรายการเรียลลิตี้โชว์ค้นหาแดร็กควีน (Drag Queen) ผู้มีกายเป็นชาย แต่มีความสามารถแต่งตัวเป็นผู้หญิงได้อย่างสวยงามและมีทักษะการแสดงรอบด้านอย่างมีศิลปะ เก็บรวบรวมข้อมูลรายการ Drag Race Thailand ซีซั่นที่ 1 จำนวน 8 ตอน และซีซั่นที่ 2 จำนวน 13 ตอน รวมทั้งสิ้น 21 ตอน จากเว็บไซต์ LINE TV


ผลการวิจัยพบว่าบริบทของเหตุการณ์การสื่อสารในรายการเรียลลิตี้โชว์ Drag Race Thailand และการเลือกใช้กลวิธีทางภาษาสำคัญของกลุ่มผู้เข้าแข่งขันซึ่งเรียกตนเองว่าแดร็กควีน ได้แก่ การเลือกใช้คำศัพท์และการใช้มูลบท เพื่อนำเสนอตัวตนว่าแดร็กควีนเป็นผู้หญิง แดร็กควีนเป็นการแสดงโชว์อย่างมีศิลปะ และแดร็กควีนยังไม่ได้รับการยอมรับจากสังคมและต้องการการยอมรับจากสังคม การนำเสนอตัวตนของแดร็กควีนเหล่านี้มิได้เป็นเพียงการสร้างชุมชน (community) ของกลุ่มแดร็กควีนด้วยกันเท่านั้น หากแต่ยังต้องการสร้างตัวตน/อัตลักษณ์และพื้นที่ให้แก่กลุ่มเพศทางเลือก (LGBT) ในสังคมไทยอีกด้วย

Article Details

บท
บทความวิจัย

References

กรกมล ศรีวัฒน์. (2561, 15 สิงหาคม). Stand-up Comedy จักรวาลความฮาหลังไมค์หนึ่งตัว. สืบค้นเมื่อ 28 กรกฎาคม 2562 จาก https://today.line.me/th/pc/article/Stand+up+Comedy.

คณาธิป พาณิชตระกูล. (2556). ความสัมพันธ์ระหว่างภาษากับอุดมการณ์ ว่าด้วยชายรักชายในหนังสือพิมพ์รายวันภาษาไทย. (วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิ สาขาวิชาภาษาไทย). จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, กรุงเทพฯ.

คมชััดลึึก. (2561, 24 มกราคม) มาทำความรู้จักกัับรายการ ‘กะเทย’ สุุดแซบ. สืืบค้นเมื่่อ 14 ธันวาคม 2562 จาก https://www.komchadluek.net/news/ent/310555.

ณิิชา พััฒนเลิิศพัันธ์ และธนศิิลป์ มีีเพีียร. (2561, 18 กุุมภาพันธ์). แดร็กควีนไม่ใช่นางโชว์ : คุยกับ ปันปัน นาคประเสริฐ พิธีกรร่วมรายการ Drag Race Thailand. สืืบค้นวันที่ 27 กรกฎาคม 2562 จาก https://thematter.co/rave/drag-race-thailandinterview/

ธีระ บุษบกแก้ว. (2553). กลวิธีทางภาษากับการนำเสนออัตลักษณ์ของตนเองโดยกลุ่ม “เกย์ออนไลน์” (วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต สาขาวิชาภาษาไทย) จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, กรุงเทพฯ.

พัทธมน สินธุวณิชเศรษฐ์. (2562, 7 พฤษภาคม). รูพอล “คุณแม่” แห่งแดรกควีน ผู้ยกวงการแดรกจากใต้ดินสู่บนดิน. สืบค้นเมื่อ 27 กรกฎาคม 2562 จาก https://thepeople.co/andre-charles-rupauls-drag-race/.

พิิมพ์วดีี รุ่งเรืืองยิ่่งและโสภีี อุ่นทะยา. (2560). กลวิิธีีทางภาษาสื่อวาทกรรมหญิิงรัักหญิิงในนิิตยสาร @tom actz. วารสารภาษา ศาสนา และวััฒนธรรม, 6(1), 59-82.

รัชนินท์ พงศ์อุดม. (2548). ความสัมพันธ์ระหว่างภาษากับค่านิยมเกี่ยวกับความงาม: การศึกษาวาทกรรมโฆษณาเครื่องสำอางในภาษาไทย (วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต สาขาวิชาภาษาศาสตร์). จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, กรุงเทพฯ.

วุฒินันท์ แก้วจันทร์เกตุ. (2553). อุดมการณ์ความเป็นชายในวาทกรรมโฆษณาสินค้าและบริการสำหรับผู้ชายในนิตยสารผู้ชาย (วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต สาขาวิชาภาษาไทย). จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, กรุงเทพฯ.

ศิริพร ภักดีผาสุข. (2553). โครงการวาทกรรม “ความเป็นผู้หญิง” ในนิตยสารสุขภาพ และความงามภาษาไทย. รายงานการวิจัยฉบับสมบูรณ์ภาควิชาภาษาไทย คณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

ศิริพร ภักดีผาสุข. (2561). ความสัมพันธ์ระหว่างภาษากับอัตลักษณ์และแนวทางการนำมาศึกษาภาษาไทย. กรุงเทพฯ: โครงการเผยแพร่ผลงานวิชาการ คณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

สุคนธรัตน์ สร้อยทองดี. (2552). การนำเสนออุดมการณ์ความเป็นแม่ในวาทกรรมโฆษณาในนิตยสารสำหรับครอบครัว (วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต สาขาวิชาภาษาไทย) จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, กรุงเทพฯ.

Barrett, R. (2017). From Drag Queens to Leathermen: Language, Gender, and Gay Male (Studies in Language, Gender and Sexuality). New York: Oxford University Press.

Brown, P and Levinson, S.C. (1987). Universals in Language Usage: Politeness Phenomena. In Goody, E.N. (Ed.) Questions and Politeness (pp. 56-289). Cambridge: Cambridge University Press.

Bucholtz, M., and Hall, K. (2004). Theorizing Identity in Language and Sexuality Research. Language in Society, 33(4), 469-515.

Butler, J. (1990). Gender trouble: Feminism and the subversion of identity. New York/London: Routhledge.

Halliday, M. A. K., & Matthiessen, C. (2014). Halliday’s Introduction to Functional Grammar (4th ed.). Oxon: Routledge.

Hymes, D. (1974). Foundations in Sociolinguistics: An Ethnographic Approach. London: Tavistock Publications.

Lakoff, R. (1973). The logic of politeness; or, minding your P’s and Q’s. In C. Corum, T. Cedric Smith-Stark, A. Weiser (eds.), the Ninth Regional Meeting of the Chicago Linguistics Society (pp. 292-305). Chicago: Department of Linguistics, University of Chicago.

Lakoff, R. (1975). Language and Woman’s Place. New York: Harper & Row.

Moncrieff, M. and Lienard, P. (2017). A Natural History of the Drag Queen Phenomenon. Evolutionary Psychology, 15(2), 1-14.

Ochs, E. and Taylor, C. (1992). Family Narrative as Political Activity. Discourse and Society, 3(3), 301-340.

Panpothong, N. (2011). Discourse of Plastic Beauty: A Critical Linguistic Analysis of Cosmetic Surgery Ads in Thai. The Journal, 6(2), 89-106.

Rupp, L & Taylor, V. (2003). Drag Queens at the 801 Cabaret. London: University of Chicago Press.

Simmons, N. (2014). Speaking Like a Queen in RuPaul’s Drag Race: Towards a Speech Code of American Drag Queens. Sexuality and Culture, 18(3), 630-48.

Tennen, D. (1990). You Just Don’t Understand: Women and Men in Conversation. New York: Wm. Morrow.

Zabbialini, G. (2019, March 27). “Girl, we are serving looks!”: the influence of drag queen’s language on the “beauty gurus” channels on YouTube. Retrieved July 28, 2019, from https://www.academia.edu/39236240/_Girl_we_are_serving_looks_the_influence_of_drag_queen_s_language_on_the_beauty_gurus_channels_on_YouTube/.