Journey to the Lyngams: People of Meghalaya, Northeast India

Main Article Content

Seino van Breugel

Abstract

The Lyngam people of Meghalaya State in Northeast India and adjacent areas in Bangladesh speak an Austroasiatic language with the same name. This article reports the findings of my two fieldwork trips of six months in total, with the objective to study and record the language and culture of the Lyngams in the area between the villages of Umdang and Shallang in the West Khasi Hills District of Meghalaya. Wedged in between speakers of Tibeto-Burman tongues to the north, west and south, and speakers of closely related Austroasiatic speech varieties to the east, the Lyngams are claimed both ethnically and linguistically by both the Garos and the Khasis. I found that, while their language is definitely Austroasiatic, it has Tibeto-Burman loanwords and the Lyngams present cultural traits that are similar to both their Garo and Khasian neighbours

 

การเดินทางสู่ลงัม: ชาวลงัมแห่งรัฐเมฆาลัย ภาคตะวันออกเฉียงเหนือของประเทศอินเดีย

เซโน แวน เบรอเกล

คนลงัม (Lyngam) แห่งรัฐเมฆาลัยซึ่งอยู่ภาคตะวันออกเฉียงเหนือของประเทศอินเดีย และติดกับประเทศบังกลาเทศนั้นพูดภาษาลงัมซึ่งเป็นภาษาหนึ่งในตระกูลภาษากลุ่มออสโตรเอเชียติก บทความนี้รายงานผลการวิจัยที่ผู้วิจัยได้เดินทางไปเก็บข้อมูลทางด้านภาษาศาสตร์ในท้องที่ 2 ครั้ง รวมเป็นเวลา 6 เดือน โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาและรวบรวมข้อมูลทางภาษาและวัฒนธรรมลงัมในพื้นที่ระหว่างหมู่บ้านในอุมดัง (Umdang) และชาลลัง (Shallang) บริเวณเทือกเขากาสีตะวันตกในรัฐเมฆาลัย ด้วยเหตุผลที่ชาวลงัมอาศัยอยู่ท่ามกลางกลุ่มคนที่ใช้ภาษาย่อยทิเบต-พม่า ทางตอนเหนือ ตะวันตกและทางใต้ และกลุ่มคนที่ใช้ภาษาถิ่นย่อยในกลุ่มตระกูลภาษากลุ่มออสโตรเอเชียติกทางตะวันออก ชาวลงัมจึงถูก มองว่ามีความสัมพันธ์ทางชาติพันธุ์และภาษาศาสตร์กับชาวกาโรและชาวกาสีผู้วิจัยได้ค้นพบว่า แม้ว่าภาษาลงัมจะเป็นหน่งึ ในตระกูลภาษากลุ่มออสโตรเอเชียติกแต่ก็พบว่ามีการยืมคาในตระกูลภาษาย่อยทิเบต-พม่ามาใช้ และคนลงัมยังมีล้กษณะทางวัฒนธรรมที่คล้ายกับชาวกาโรและชาวกาสีซึ่งอาศัยอยู่ในบริเวณใกล้เคียงอีกด้วย

Article Details

Section
Academic Articles