กระบวนการถ่ายทอดความรู้หัตถกรรมท้องถิ่น: กรณีศึกษาการทำตะกร้าหวายลายพิกุล หมู่ที่ 1 ตำบลบ้านกระทุ่ม อำเภอเสนา จังหวัดพระนครศรีอยุธยา

Main Article Content

กันยรัตน์ สอนคง
อนุชัย รามวรังกูร
นลินรัตน์ รักกุศล

Abstract

การวิจัยเรื่องนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษากระบวนการถ่ายทอดความรู้หัตถกรรมท้องถิ่นการทำตะกร้าหวายลายพิกุล หมู่ที่ 1 ตำบลบ้านกระทุ่ม อำเภอเสนา จังหวัดพระนครศรีอยุธยา ผลการวิจัยพบว่า กระบวนการถ่ายทอดความรู้หัตถกรรมท้องถิ่นในอดีตเป็นการถ่ายทอดความรู้ในครัวเรือนจากพ่อแม่ไปสู่ลูกเพื่อใช้งานในครัวเรือน ปัจจุบันนอกจากการถ่ายทอดความรู้ในครัวเรือนจากพ่อแม่ไปสุ่ลูกเพื่อใช้งานในครัวเรือน ปัจจุบันนอกจากการถ่ายทอดในหมู่เครือญาติเพื่อการค้าแล้ว ยังมีการถ่ายทอดความรู้ในสถานศึกษาบางแห่ง มีวัตถุประสงค์เพื่อให้คนทั่วไป ตระหนักถึงความสำคัญของหัตถกรรม และอนุรักษ์ตลอดจนสืบทอดภูมิปัญญาท้องถิ่นต่อไป

The Knowledge Transmission Process of Local Handicraft: A Case Study of Pikul-Pattern Rattan Basket Moo1, Tambon Ban Kratum, Amphoe Sena, Changwat Phra Nakorn Si Ayutthaya

Kanyarat Sornkong, Anuchai Ramwarungkura, Nalinrat Rakkusol

The objective of this qualitative research is to study the transmission process of a local handicraft: Pikul patern rattan basket, at Moo 1, Tambon Bankrathum, Sena District, Phra Nakhon Si Ayutthaya Province. The research found that in the past the parents transferred the whole manufacturing process of handicrafts to their descendants for domestic use only. At present, besides being transferred among relatives for the sake of commercial, the manufacturing process of local handicrafts is also taught in some educational institutions to make people realize the importance of local handicrafts and encourage them to preserve and
carry on this local wisdom.

Article Details

Section
บทความวิทยานิพนธ์
Author Biographies

กันยรัตน์ สอนคง

นิสิตปริญญามหาบัณฑิต สาขาวิชาพัฒนอาชีวศึกษา คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์

อนุชัย รามวรังกูร

ผู้ช่วยศาสตราจารย์ประจำภาควิชาอาชีวศึกษา คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์

นลินรัตน์ รักกุศล

อาจารย์ประจำภาควิชาอาชีวศึกษา คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์