กลยุทธ์การพัฒนาการท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรม

Main Article Content

นุชนารถ รัตนสุวงศ์ชัย

Abstract

ในช่วง 10 ปีที่ผ่านมา การท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรมเป็นที่ต้องการมากขึ้นทั้งในระดับชาติและนานาชาติ การท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรมจึงกลายเป็นทรัพยากรที่สำคัญในการพัฒนาเศรษฐกิจของ
หลายประเทศ โดยเฉพาะอย่างยิ่ง ประเทศที่ไม่ใช่ประเทศอุตสาหกรรม อย่างไรก็ตาม เชิงลบของ
การท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรมเป็นสิ่งที่หลีกเลี่ยงไม่ได้ ซึ่งนำไปสู่เชิงลูกโซ่ต่อการพัฒนาที่สำคัญด้านสังคมและสิ่งแวดล้อมได้ ดังนั้น การพัฒนาการท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรมในทิศทางที่ยั่งยืนจึงต้องบูรณาการกลยุทธ์จากศาสตร์หลากหลายแขนง ได้แก่ การสร้างเครือข่ายความร่วมมือ การวางแผนอย่างมีประสิทธิภาพการกำหนดดัชนีระดับการพัฒนาและขีดความสามารถในการรองรับการท่องเที่ยว การกำหนดมาตรฐานสิ่งก่อสร้าง การพัฒนาคนท้องถิ่น และการตลาด

Cultural Tourism Development Strategies

Nuchnard Ratanasuwongchai

In the past ten years, cultural tourism has been increasingly demanded at both national and international levels. It has clearly become a main resource for the economic development for many countries, particularly non-industrialized countries. However, the negative impacts of cultural tourism are, by no means, inevitable and can lead to chain effects to such other focal points of development as social and environmental ones. Thus, the cultural tourism development in a sustainable way depends upon the proper integration of multidisciplinary strategies ranging from partnership network creation, effective planning, formulation of development indicators and tourism carrying capacity, standardization of construction, local people development, and finally marketing.

Article Details

Section
Research Articles
Author Biography

นุชนารถ รัตนสุวงศ์ชัย

ผู้ช่วยศาสตราจารย์ประจำภาควิชาศิลปาชีพ คณะมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์