ธาตุรู้บริสุทธิ์ :กระบวนการคลายทุกข์ในชีวิต
คำสำคัญ:
ธาตุรู้บริสุทธิ์, ธาตุ 6, วิปัสสนาญาณ 9บทคัดย่อ
ธาตุรู้บริสุทธิ์ :กระบวนการคลายทุกข์ในชีวิต ในที่นี้หมายถึง “รู้บริสุทธิ์” หมายถึง รู้ที่เป็นธาตุของธรรมชาติ เป็นธาตุธรรม เป็นความว่างเหมือนอากาศ ว่างในความรู้ รู้ในความว่าง ไม่มีตัวตน เป็นอิสระ เป็นธาตุรู้ที่เข้าใจสภาวะของสิ่งทั้งหลายเห็นแจ้งตามความเป็นจริง ปล่อยความยึดมั่นถือมั่นทั้งหลาย ไม่แทรกแซงในสิ่งที่รู้ สามารถใช้เป็นแนวทางในการแก้ปัญหา ที่เกิดขึ้นในชีวิตประจำวัน ของทุกคนได้ และสามารถเข้าถึง ธาตุรู้บริสุทธิ์ กระบวนการคลายทุกข์ในชีวิตได้ดียิ่งขึ้น
References
พระเฉลียว กตปุญฺโญ (สาริบุตร). (2547). การศึกษาเชิงวิเคราะห์ขันธ์ 5 ในพระพุทธศาสนา นครปฐม : มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย.
กันต์ฤทัย กตจิตดรุณ (2556). การศึกษาเชิงวิเคราะห์พุทธปรัชญาเรื่องขันธ์ 5 ตามแนวคัมภีร์อภิธัมมัตถสังคหะ นครปฐม : มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย,
พระคันธสาราภิวงศ์. (2555). โพธิปักขิยธรรม. พิมพครั้งที่ 5. กรุงเทพมหานคร: บริษัท บุญศิริการพิมพ์ จํากัด,
พระธรรมกิตติวงศ์ (ทองดี สุรเตโช). (2558). พจนานุกรมเพื่อการศึกษาพุทธศาสน์ ชุดศัพท์วิเคราะห์,กรุงเทพมหานคร: โรง พิมพ์เลี่ยงเซียง.
พระธรรมธีรราชมหามุนี (โชดก ญาณสิทฺธิ ป.ธ. 9). (2554). วิปัสสนากรรมฐาน. งานออกเมรุพระราชทานเพลิงศพ พระภัท ทันตะ อาสภมหาเถร ธัมมาจริยะ อัคคมหากัมมัฏฐา นาจริยะ. พิมพ์ครั้งที่ 3. กรุงเทพมหานคร: บริษัท ประยูรวงศ์พริ้นติ้ง จํากัด,
พระพรหมคุณาภรณ์ (ป.อ.ปยุตฺโต). (2555). พุทธธรรม ฉบับปรับขยาย. พิมพ์ครั้งที่ 35. กรุงเทพมหานคร: สํานักพิมพ์ผลิธัมม์,
พระโสภณมหาเถระ (มหาสีสยาดอ). (2539). มหาสติปัฏฐานสูตรทางสู่พระนิพพาน. พระพรหมโมลี (สมศักดิ์ อุปสโมป.ธ. 9,M.A.,Ph.D.) ตรวจชําระ. แปลและเรียบเรียงโดย พระคันธสาราภิวงศ์. กรุงเทพมหานคร: ห้างหุ้นส่วนจํากัด ไทยรายวันการ พิมพ์,
วพระพรหมโมลี ( สมศักดิ์ อุปสโมป.ธ. 9, M.A., Ph.D. ). (2557). วิปัสสนานัย เล่ม 1. ตรวจชําระ. พระคันธสาราภิวงศ์ แปลและเรียบเรียง. กรุงเทพมหานคร: ประยูรสาส์นไทยการ พิมพ์.
มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย. (2535). พระไตรปิฎกภาษาบาลี ฉบับมหาจุฬาเตปิฏกํ 2500. กรุงเทพมหานคร: โรงพิมพ์มหา จุฬาลงกรณราชวิทยาลัย.
พระมหาอิสรเชษฐ์ ปญฺญาวชิโร (2558). ศึกษาเปรียบเทียบแนวคิดเรื่องวิปัสสนาญาณในพุทธปรัชญาเถรวาทกับแนวคิดอัชฌัตติกญาณของโอโช่ (JBS วารสารพุทธศาตร์ศึกษา ปีที่ 6 ฉบับที่ 2 (2015): วารสารพุทธศาสตร์ศึกษา ปีที่ 6 ฉบับที่ 2
มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย. (2535). พระไตรปิฎกภาษาบาลี ฉบับมหาจุฬาเตปิฏกํ 2500. กรุงเทพมหานคร: โรงพิมพ์มหา จุฬาลงกรณราชวิทยาลัย, 2535.
พระธรรมปิฎก (ประยุทธ์ ปยุตฺโต) (2546). ศึกษาหลักไตรลักษณ์ตามลำดับสภาวะของวิปัสสนาญาณ (วารสาร บัณฑิตศาสน์ มมร.)