ภาวะผู้นำแบบใฝ่บริการของผู้บริหารสถานศึกษาที่ส่งผลต่อแรงจูงใจในการทำงานของครูสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 2
บทคัดย่อ
งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา 1) ระดับภาวะผู้นำแบบใฝ่บริการของผู้บริหารสถานศึกษา 2) ระดับแรงจูงใจในการทำงานของครู 3) ความสัมพันธ์ของภาวะผู้นำแบบใฝ่บริการของผู้บริหารสถานศึกษากับแรงจูงใจในการทำงานของครู และ 4) ภาวะผู้นำแบบใฝ่บริการของผู้บริหารสถานศึกษาที่ส่งผลต่อแรงจูงใจในการทำงานของครู ตัวอย่าง คือ ครู สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษากรุงเทพมหานคร เขต 2 จำนวน 364 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย คือแบบสอบถาม สถิติที่ใช้วิเคราะห์ข้อมูล คือ ค่าเฉลี่ย ค่าร้อยละ ค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์แบบเพียร์สัน และการถดถอยพหุคูณ ผลการวิจัยพบว่า 1) ภาวะผู้นําแบบใฝ่บริการของผู้บริหารสถานศึกษาอยู่ในระดับมาก 2) แรงจูงใจในการทำงานของครูอยู่ในระดับมาก 3) ภาวะผู้นําแบบใฝ่บริการของผู้บริหารสถานศึกษามีความสัมพันธ์กับแรงจูงใจในการทำงานของครู มีค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ (r) = .721 และ 4) ภาวะผู้นําแบบใฝ่บริการของผู้บริหารสถานศึกษาส่งผลต่อแรงจูงใจในการทำงานของครูทุกด้าน โดยด้านการรับฟัง มีอิทธิพลสูงสุด อธิบายความแปรปรวนได้ร้อยละ 61.50
References
กรมสุขภาพจิต. (2562). ภาวะหมดไฟในการทำงาน . สืบค้นเมื่อ 22 พฤศจิกายน2564, จาก https://www.dmh.go.th/news/view.asp?id=2270
กระทรวงศึกษาธิการ. (2560). แผนพัฒนาการศึกษาของกระทรวงศึกษาธิการ ฉบับที่ 12 (พ.ศ. 2560 – 2564). กรุงเทพฯ: สำนักงานปลัดกระทรวงศึกษาธิการ.
กระทรวงศึกษาธิการ. (2564). ยุทธศาสตร์กระทรวงศึกษาธิการ. สืบค้นเมื่อ 22 พฤศจิกายน 2564,
จาก http://www.onec.go.th/th.php/page/category/CNT0000105
กลุ่มนโยบายและแผน สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา กรุงเทพมหานคร เขต 2 (2564). รายงานการดำเนินงานประจำปี. สืบค้นเมื่อ 22 พฤศจิกายน 2564, จาก https://shorturl.asia/TQlnN
กลุ่มสารสนเทศ สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน. (2564). ข้อมูลพื้นฐานโรงเรียน สังกัด สพม.กท. 2 (กทม.). สืบค้นเมื่อ 22 พฤศจิกายน 2564, จาก https://data.bopp-obec.info/emis/school.php?Area_CODE=10170
คมธนู ควรประเสริฐ. (2562). ความสัมพันธ์ระหว่างผู้นำใฝ่บริหารของผู้บริหารกับแรงจูงใจในการทำงานของครู โรงเรียนเอกชนในเครือเซนต์มารีอา. (วิทยานิพนธ์ครุศาสตรมหาบัณฑิต). มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี, ปทุมธานี
จิรวรรณ เล่งพานิชย์. (2554). โมเดลสมการโครงสร้างภาวะผู้นำแบบใฝ่บริการของผู้บริหารสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน. (วิทยานิพนธ์ปริญญาดุษฎีบัณฑิต ). มหาวิทยาลัยขอนแก่น, ขอนแก่น.
ชนิตว์สรณ์ ตรีวิทยาภูมิ. (2564). เทคนิควิธีการฝึกแบบสอนงาน (Coaching). สืบค้นเมื่อ 22 พฤศจิกายน 2564, จากhttp://oknation.nationtv.tv/blog/uptraining/2014/10/16/entry-1
ชมพูนุช ศรีพงษ์. (2561). กลยุทธ์การเพิ่มแรงจูงใจในการทำงาน. วารสารมหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา, 2(2).
ชูศรี มโนการ. (2558). รูปแบบความสัมพันธ์เชิงสาเหตุระหว่างความฉลาดทางอารมณ์ คุณลักษณะของบุคคลภาวะผู้นำแบบใฝ่บริการ และประสิทธิผลทีมของอาจารย์พยาบาล สังกัดกระทรวงสาธารณสุข. (วิทยานิพนธ์ดุษฎีบัณฑิต). มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์, กรุงเทพฯ.
เชษฐ์ดนัย ไชยเผือก. (2558). แนวทางการพัฒนาภาวะผู้นำแบบผู้รับใช้ของผู้บริหารโรงเรียนในสังกัดอัครสังฆมณฑล กรุงเทพฯ. (วิทยานิพนธ์ครุศาตรมหาบัณฑิต). จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, กรุงเทพฯ
ณัฏฐ์สุดา ชัยโฉม และคณะ. (2564). ระบบการบริหารราชการไทย. วารสารพุทธัคค์, 6(1).
ณัฐดนัย ไทยถาวร. (2561). แรงจูงใจในการปฏิบัติงานของครูโรงเรียนระดับประถมศึกษา จังหวัดสระบุรี. มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี,
ธนกร มนตรีโชติ. (2553). ความไม่เห็นแก่ตัว. สืบค้นเมื่อ 22 พฤศจิกายน 2564, จากhttps://shorturl.asia/fb1YX
ธีรวุฒิ เอกะกลุ. (2543). ระเบียบวิธีวจิัยทางพฤติกรรมศาสตร์และสังคมศาสตร์.อุบลราชธานี: สถาบันราชภัฎอุบลราชธานี.
ธีระศักดิ์ คำดำ และดาวรุวรรณ ถวิลการ. (2560). ภาวะผู้นำ ใฝ่บริการของนักวิชาการที่ส่งผลต่อการบริการที่ดีในสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษา สังกัดกลุ่มจังหวัดร้อยแก่นสารสินธุ์. วารสารวิทยบริการ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ 28(3).
นงนุช ตรีวัย. (2557). แรงจูงใจในการปฏิบัติงานของข้าราชการครูโรงเรเรียนมัธยมศึกษา สังกัดสำนักเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 12. (ครุศาตรมหาบัณฑิต). มหาวิทยาลัยราชภัฏนครศรีธรรมราช, นครศรีธรรมราช
นันท์นภัส งามขำ. (2559). ความสัมพันธ์ระหว่างภาวะผู้นำการเปลี่ยนแปลงของผู้บริหารกับแรงจูงใจในการปฏิบัติงานตามการรับรู้ของครูในโรงเรียนเอกชน สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษา สมุทรปราการเขต 1. มหาวิทยาลัยบูรพา, ชลบุรี.
นันทนา อุดมมั่นถาวร . (2548). ประสิทธิภาพในการปฏิบัติงานของข้าราชการองค์การบริหารส่วนจังหวัดชลบุรี. กรุงเทพมหานคร : วิทยาลัยการบริหารรัฐกิจ มหาวิทยาลัยบูรพา.
บังอร ไชยเผือก. (2550). การศึกษาคุณลักษณะของผู้นำแบบผู้รับใช้และบรรยากาศของโรงเรียนคาทอลิกสังกัดคณะภคินีพระกุมารเยซู. (สารนิพนธ์การศึกษษมหาบัณฑิต). มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ, กรุงเทพฯ.
บังอร ไชยเผือก. (2550). การศึกษาคุณลักษณะของผู้นำแบบผู้รับใช้และบรรยากาศของโรงเรียนคาทอลิกสังกัดคณะภคินีพระกุมารเยซู. (สารนิพนธ์การศึกษษมหาบัณฑิต). มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ, กรุงเทพฯ.
ปรานีต จินดาศรี. (2560). ภาวะผู้นำ ของผู้บริหารสถานศึกษาที่ส่งผลต่อแรงจูงใจในการปฏิบัติงานของครูในโรงเรียนมัธยมศึกษาสังกัดสำ นักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 7 ในจังหวัดสระแก้ว. วารสารวิชาการ มหาวิทยาลัยราชภัฏบุรีรัมย์, 9(1).
พริษฐ์ วัชรสินธุ และ ธีรศักดิ์ จิระตราชู. (2564). วิบากกรรมระบบการศึกษาไทย สู่ข้อเสนอ 6 มาตรการ (6 Re’s) เพื่อหาทางออกร่วมกันในช่วงโควิด. สืบค้นเมื่อ 22 พฤศจิกายน 2564, จากhttps://workpointtoday.com/covid-policy-lab-education/
มารุต ศักดิ์แสงวิจิตร. (2563). ภาวะผู้นำแบบผู้รับใช้ของผู้บริหารสถานศึกษาที่ส่งผลต่อความมุ่งมั่นในการทำงานของครู สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษากรุงเทพมหานคร เขต 2. (ศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต). สถาบันการจัดการปัญญาภิวัฒน์, นนทบุรี.
ลิลิต วรวุฒิสุนทร. (2558). ปัญหาอมตะครูไทย เร่งแก้ก่อนการศึกษาดำดิ่ง. สืบค้นเมื่อ 26 กุมภาพันธ์ 2565, จาก https://www.posttoday.com/politic/report/341473
เลิศดาว กลิ่นศรีสุข. (2557). การบริหารการศึกษา. สืบค้นเมื่อ 26 กุมภาพันธ์ 2565, จากhttp://www.gotoknow.org/posts/403387
วันทนา เมืองจันทร์. (2544). วิสัยทัศน์ของผู้บริหารสถานศึกษา. กรุงเทพฯ: วันทิพย์.
ศิริกัลยา สามไชย. (2559). แรงจูงใจในการทำงาน ภาวะผู้น าแบบเปลี่ยนแปลง และพฤติกรรมการเป็นสมาชิกที่ดีขององค์การ. (ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต). มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร.
ศุภลักษณ์ ตรีสุวรรณ. (2548). แรงจูงใจในการปฏิบัติงานของครูในสถานศึกษาสังกัดสำนักงาน เขตพื้นที่การศึกษาสมุทรสงคราม. (สารนิพนธ์ศึกษาศาตรมหาบัณฑิต). มหาวิทยาลัยศิลปากร, นครปฐม.
สมิต สัชฌุกร. (2547). เทคนิคการสอนงาน. กรุงเทพฯ: สายธาร.
สำนักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ. (2560). แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่สิบสอง พ.ศ. 2560-2564. กรุงเทพฯ: สำนักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ.
สุขุม เฉลยทรัพย์. (2564). สัมพันธภาพในยุคโควิด-19. สืบค้นเมื่อ 26 กุมภาพันธ์ 2565, จากhttps://siamrath.co.th/n/213406
สุธาทิพย์ อุปสุข. (2563). แค่เงียบฟังยังไม่พอ คุณสมบัติ 5 ข้อ ที่ผู้ฟังที่ดีควรมี. สืบค้นเมื่อ 26 กุมภาพันธ์ 2565, จาก https://creativetalklive.com/communication-listening/
สุพรรณนิภา นามกันยา. (2559). ความสัมพันธ์ระหว่างภาวะผู้นำใฝ่บริการของผู้บริหารสถานศึกษากับประสิทธิผลของโรงเรียน สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาเลย เขต 2. (มหาบัณฑิต). มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, นครปฐม.
สุพรรณิกา รุจิวณิชย์กุล. (2564). แรงจูงใจในการปฏิบัติงานของครูในสถานศึกษาสังกัดสํานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาเขต 12. วารสารนาคบุตรปริทรรศน์ มหาวิทยาลัยราชภัฏนครศรีธรรมราช, 13(1), 30-38.
สุพิชญา วงศ์วาสนา. (2564). ปัจจัยผลกระทบทางลบจาก COVID-19 ส่งผลต่อความสุขในการทำงานของพนักงานฝ่ายการโดยสาร. วารสารัชต์ภาคย์, 15(39).
Furrow John M. (2015). Servant Leadership in Christian Schools: Servant Administration's Influence on Classroom Teachers. Columbia International University.
Greenleaf Robert K. (2002). Servant leadership: A Journey into the nature of legitimate power and greatness. New York: Paulist Press
Letizia. (2017). Development of the organizational leadership assessment (OLA) instrument. Florida: Florida Atlantic University.
Mackey, Z. (2018). Everything You Need to Know About Servant Leadership. Retrieved from https://ideas.bkconnection.com/everything-you-need-to-know-about-servant-leadership
Maniksaly S. (2020). Importance of Motivation in Management. Retrieved from http://www.economicsdiscussion.net/management/importance-of-motivation-in-management/31938
Souders, B. (2020). What is Motivation? A Psychologist Explains. Retrieved from https://positivepsychology.com/what-is-motivation/