กลยุทธ์การสร้างแรงจูงใจที่มีประสิทธิภาพสำหรับห้องเรียนภาษาอังกฤษ

ผู้แต่ง

  • อรรชนิดา หวานคง คณะมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย

คำสำคัญ:

กลยุทธ์การสร้างแรงจูงใจ, ประสิทธิภาพ, ห้องเรียนภาษาอังกฤษ

บทคัดย่อ

ปัจจุบันภาษาอังกฤษถือว่าเป็นภาษาสากลและเป็นเครื่องมือที่ใช้ในการติดต่อสื่อสารที่จำเป็นในชีวิตประจำวัน โดยเป้าหมายหลักในการสอนภาษา เพื่อพัฒนาความสามารถในการสื่อสารภาษาอังกฤษ ดังนั้น   การสร้างแรงจูงใจในการเรียนได้รับการยอมรับให้เป็นหนึ่งในปัจจัยสำคัญของการจัดการเรียนการสอน เพราะแรงจูงใจส่งผลต่อผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของผู้เรียน ซึ่งถ้าครูผู้สอนสามารถส่งเสริมแรงจูงใจและใช้กลยุทธ์การสอนที่มีประสิทธิภาพแล้ว ย่อมจะทำให้ผู้เรียนบรรลุเป้าหมายในการเรียนภาษา บทความนี้มีวัตถุประสงค์ที่จะนำเสนอกลยุทธ์ในกาสร้างแรงจูงใจสำหรับห้องเรียนภาษาอังกฤษ และหลักปัจจัยที่ส่งผลต่อผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน คณาจารย์ผู้สอนภาษาอังกฤษสามารถนำแนวคิดดังกล่าวไปบูรณาการการสอนของตน เพื่อสร้างแรงจูงใจให้ผู้เรียนมีทัศนคติที่ดี และพัฒนาทักษะการใช้ภาษาอังกฤษให้มีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น

 

References

กุสุมา เลาะเด. (2565). ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักศึกษาที่เรียนในกลุ่มวิชาภาษาอังกฤษธุรกิจ มหาวิทยาลัยราชภัฏวไลยอลงกรณ์ ในพระบรมราชูปถัมภ์. วารสารวไลยอลงกรณ์ปริทัศน์(มนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์), 12(2), 61-74.

ปราสาท เนืองเฉลิม. (2563). ครูในศตวรรษที่ 21. วารสารมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม, 39(1), 15-24. สืบค้นจาก https://hujmsu.msu.ac.th/Eng/pdfsplitE.php?p =MTU5OTAzMjIyMy5wZGZ8MjAtMjk=

พิมพาพัญ ทองกิ่ง. (2563). บทบาทครูกับการจัดบรรยากาศชั้นเรียนเชิงบวกในศตวรรษที่ 21. CMU Journal of Education, 4(1), 50-59. สืบค้นจาก https://so01.tci- thaijo.org/index.php/cmujedu /article/view/226951

ภัคกร อุบลน้อย. (2564). การพัฒนาทักษะการพูดภาษาอังกฤษด้วยการจัดการเรียนรู้ที่เน้นภาระงานเกี่ยวกับการค้าขายสินค้าประจำท้องถิ่นของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 โรงเรียนบ้านลาดวิทยา จังหวัดเพชรบุรี. บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศิลปากร.

มารีณีย์ ซี่เลี่ยง และ ธนาธิป มะโนคํา. (2565). สื่อและกลวิธีในการสอนภาษาอังกฤษสําหรับเด็กประถมศึกษา. Journal of Roi Kaensarn Academi, 7(1), 404-416.

วารพร บุญมี. (2564). สื่อการสอนกับการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21. วารสารการบริหารนิติบุคคลและนวัตกรรมท้องถิ่น, 7(9), 373-376

อรรชนิดา หวานคง. (2559). การจัดการเรียนการสอนภาษาอังกฤษในศตวรรษที่ 21. วารสารสถาบันวิจัยญาณสังวร, 7(2), 304-314. สืบค้นจาก https://so04.tci-thaijo.org/index.php/yri/article/view/184935

อรรชนิดา หวานคง. (2565). การรับรู้และทัศนคติของนักศึกษาสาขาภาษาอังกฤษที่มีต่อการเรียนรู้แบบร่วมมือ เทคนิค STAD มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย. วารสาร “ศึกษาศาสตร์ มมร” คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 10(1). 156-172. สืบค้นจาก https://so04.tci- thaijo.org /index.php/edj/article/view/256962

Bećirović, S. (2017). The relationship between gender, motivation and achievement in learning English as a foreign language. European Journal of Contemporary Education, 6(2), 210-219.

Bloom, B. S. (1976). Human characteristics and school learning. New York: McGraw-Hill.

Dörnyei, Z. (2001). Teaching and Researching Motivation. Harlow: Pearson Education.

Gardner. R. C. (1985). Social Psychology and Second Language Learning: The Role of Attitude and Motivation. London: Edward Arnold.

Millman, Jason. 1981. Handbook of Teaching Evaluation. London: Sage Publications.

Ryan, R. M., & Deci, E. L. (2000 b). Intrinsic and extrinsic motivations: Classic definitions and new directions. Contemporary Educational Psychology, 25, 54-67.

Watson Todd, R. (2012). The effects of class size on English learning at a Thai university. ELT Research Journal, 1(1), 80-88.

เผยแพร่แล้ว

2023-12-25