ความสัมพันธ์ระหว่างภาวะผู้นำวิสัยทัศน์กับการจัดการคุณภาพโดยรวมของผู้บริหารสถานศึกษากลุ่มเครือข่ายส่งเสริมประสิทธิภาพศูนย์การศึกษาพิเศษ กลุ่มเครือข่ายที่ 12 สำนักบริหารงานการศึกษาพิเศษ
คำสำคัญ:
ภาวะผู้นำวิสัยทัศน์, การจัดการคุณภาพโดยรวม, ผู้บริหารสถานศึกษาบทคัดย่อ
งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา 1) ระดับภาวะผู้นำวิสัยทัศน์ของผู้บริหารสถานศึกษากลุ่มเครือข่ายส่งเสริมประสิทธิภาพศูนย์การศึกษาพิเศษ กลุ่มเครือข่ายที่ 12 สำนักบริหารงานการศึกษาพิเศษ 2) ระดับการจัดการคุณภาพโดยรวมของผู้บริหารสถานศึกษากลุ่มเครือส่งเสริมประสิทธิภาพศูนย์การศึกษาพิเศษ
กลุ่มเครือข่ายที่ 12 สำนักบริหารงานการศึกษาพิเศษ และ 3) ความสัมพันธ์ระหว่างภาวะผู้นำวิสัยทัศน์กับการจัดการคุณภาพโดยรวมของผู้บริหารสถานศึกษากลุ่มเครือข่ายส่งเสริมประสิทธิภาพศูนย์การศึกษาพิเศษ กลุ่มเครือข่ายที่ 12 สำนักบริหารงานการศึกษาพิเศษ กลุ่มตัวอย่าง คือ ผู้บริหาร ครูและบุคลากรทางการศึกษา ศูนย์การศึกษาพิเศษ กลุ่มเครือข่ายส่งเสริมประสิทธิภาพศูนย์การศึกษาพิเศษ กลุ่มเครือข่ายที่ 12 สำนักบริหารงานการศึกษาพิเศษ ปีการศึกษา 2564 จำนวน 215 คน เครื่องมือที่ใช้ในงานวิจัย คือ แบบสอบถาม สถิติที่ใช้วิเคราะห์ข้อมูล คือ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์แบบเพียร์สัน ผลการวิจัยพบว่า 1) ภาวะผู้นำวิสัยทัศน์ของผู้บริหารสถานศึกษา อยู่ในระดับมาก 2) การจัดการคุณภาพโดยรวมของผู้บริหารสถานศึกษา อยู่ในระดับมาก และ 3) ภาวะผู้นำวิสัยทัศน์ของผู้บริหารสถานศึกษามีความสัมพันธ์กับการจัดการคุณภาพโดยรวมของผู้บริหารสถานศึกษากลุ่มเครือข่ายส่งเสริมประสิทธิภาพศูนย์การศึกษาพิเศษ กลุ่มเครือข่ายที่ 12 สำนักบริหารงานการศึกษาพิเศษ มีค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ (r) = .905
References
กัมปนาท คำอ่อน และนิคม นาคอ้าย. (2565). ความสัมพันธ์ระหว่างภาวะผู้นำในศตวรรษที่ 21 กับการบริหารคุณภาพองค์กร (TQM) ของผู้บริหารสถานศึกษาสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาพิจิตร. วารสารวิจยวิชาการ. 5(4), 133.
กฤติกา ลิ้มลาวัลย์. (2551). การเพิ่มผลผลิตด้วย TQM. กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยกรุงเทพ.
จาตุรงค์ ยตะโคตร. (2564). ภาวะผู้นำเชิงวิสัยทัศน์ของผู้บริหารที่ส่งผลต่อประสิทธิผลการบริหารงานวิชาการโรงเรียน สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสกลนคร เขต 2. วารสารวิชาการมหาวิทยาลัยราชภัฏศรีสะเกษ. 15(3),20.
เจนจิรา งามมานะ. (2560). ปัจจัยในองค์กรที่ส่งผลต่อการจัดการคุณภาพโดยรวมของมหาวิทยาลัย เทคโนโลยีราชมงคลพระนคร. (วิทยานิพนธ์มหาบัณฑิต). มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร.
ณัฎฐพันธ์ เขจรนันทร์ และคณะ. (2545). กลยุทธ์การสร้างองค์กรคุณภาพ. กรุงเทพฯ: เอ็กซเปอร์เน็ท.
ทัศนีย์ ไชยเจริญ. (2557). ความสัมพันธ์ระหว่างภาวะผู้นำเชิงวิสัยทัศน์ของผู้บริหารกับบรรยากาศองค์การโรงเรียนขยายโอกาสทางการศึกษา อำเภอเขาฉกรรจ์ สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสระแก้วเขต 1. (งานนิพนธ์มหาบัณฑิต). มหาวิทยาลัยบูรพา.
นพรินทร์ สุบินรัตน์. (2561). ความสัมพันธ์ระหว่างภาวะผู้นำเชิงวิสัยทัศน์ของผู้บริหารสถานศึกษากับประสิทธิผลของโรงเรียน สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 19. (วิทยานิพนธ์มหาบัณฑิต). มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย.
น้ำฝน มงคลล้อม. (2554). การจัดการคุณภาพโดยรวมของผู้บริหารโรงเรียนในเครือพระแม่มารีเขตกรุงเทพมหานคร. (งานนิพนธ์มหาบัณฑิต). มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ.
รักเกียรติ หงส์ทอง. (2559). ภาวะผู้นำเชิงวิสัยทัศน์ในบริบทการนำการเปลี่ยนแปลง. วารสารมนุษยสังคมปริทัศน์. 18(2), 73.
ศิริพงษ์ ลดาวัลย์ ณ อยุธยา. (2550). การบริหารคุณภาพ. เชียงใหม่: ธนุชพริ้นติ้ง.
สมชาย เทพแสง. (2548). การศึกษาปัจจัยบางประการที่ส่งผลต่อการจัดการคุณภาพโดยรวมของผู้บริหารโรงเรียนมัธยมศึกษา สังกัดสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน ในเขตพื้นที่การศึกษากรุงเทพมหานคร, (ดุษฎีนิพนธ์ดุษฎีบัณฑิต). มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ.
สมชาย เทพแสง. (2552). ภาวะผู้นำวิสัยทัศน์: รูปแบบใหม่ของผู้บริหารโรงเรียนในทศวรรษ. วารสารบริหารการศึกษามหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ, 6 (11), 83-95.
สุรินทร์ พิทักษ์สิกุล. (2557). การมีส่วนร่วมด้านการบริหารจัดการคุณภาพโดยรวมทั่วทั้งองค์การ (TQM) และความพึงพอใจในการทำงาน: กรณีศึกษา คณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงราย. การประชุมวิชาการระดับชาติ ประจำปี 2557. หน้า 426-432.
สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน. (2560). นโยบายสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน ปีงบประมาณ พ.ศ. 2559. กรุงเทพฯ: พริกหวานกราฟฟิค.
สำนักบริหารงานการศึกษาพิเศษ. (2565: 11-12). คู่มือสำนักบริหารงานการศึกษาพิเศษ สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน. ค้นจาก http://special.obec.go.th/page.php.
สำนักบริหารงานการศึกษาพิเศษ. (2565: 18-19). แผนปฏิบัติการประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 สำนักบริหารงานการศึกษาพิเศษ สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน. ค้นจาก http://special.obec.go.th/page.php.
อรกาญจน์ เฉียงกลาง. (2562). ความสัมพันธ์ระหว่างภาวะผู้นำเชิงวิสัยทัศน์ของผู้บริหารสถานศึกษากับสมรรถนะการปฏิบัติงานของครูในโรงเรียน สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา
Deming, W.E. (2002). Quality, Productivity and Competitive Position. Cambridge: Center for Advance Engineering, Massachusetts Institute of Technology.
Goetsch & David, Stanley. B. (2010). Quality Management for Organization Excellence Introduction to Total Quality Management. New Jersey: Prentice Hall.
Kahan. (2020). Visionary Leadership: Motivational Speaker. Retrieved www.sethkahan.com/Resources_Ovisionary/leadership.html.
Kapur Surinder. (2009). 8 Principles of Visionary Leadership. Retrieved from www.rediff.com/money/2007/may/16lead.html
Kevin, B. (2006). Vision 2020. New York: McGraw-Hill.
Kurtus. (2001). Overcome the Fear of Speaking to Group. Retrieved from http://www.school-for-champions.com/speaking/fear.htm
Larry. (2009). Visionary Leadership. Retrieved from www.ericdigests.org/1997-3/visionary.html
Macky. (2011). Implementing Total Quality Management: The Role of Human Resource Management. Retrieved from www.knol.google.com/implementing-total-quality-ma A unit of knowledge Knol Blog.
Morgan. (1993). Total Quality Management and the School. Buckingham: Open University Press.
Oakland, J. S. (2003). Total Quality Management. (3rd Edition). Oxford: Butterworth-Heinemann.
Roach William J. (2010). Practicing Organization Development a Guide for Leading Change. (3th Edition). San Francisco: Pfeiffer An Imprint of Wiley.
Thompson. (2009). Visionary leadership in Action While There is More to Leadership than Vision, Retrieved from books.google.co.th/books?isbn=0761971777