สุขภาพองค์กรตามความคิดเห็นของบุคลากรในหน่วยงานทางการศึกษากรุงเทพมหานคร

ผู้แต่ง

  • ศรัญญา กองแก้ว คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยรามคำแหง
  • กัลยมน อินทุสุต คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยรามคำแหง

คำสำคัญ:

สุขภาพองค์กร, ความคิดเห็นของบุคลากร, หน่วยงานทางการศึกษา

บทคัดย่อ

การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ ศึกษาและเปรียบเทียบสุขภาพองค์กรตามความคิดเห็นของบุคลากรในหน่วยงานทางการศึกษากรุงเทพมหานคร จำแนกตามวุฒิการศึกษา และประสบการณ์การทำงาน กลุ่มตัวอย่างในการวิจัย คือ บุคลากรในหน่วยงานทางการศึกษากรุงเทพมหานคร ปี พ.ศ. 2566 จำนวน 151 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยเป็นแบบสอบถามมาตราส่วนประมาณค่า 5 ระดับ มีค่าความเชื่อมั่นเท่ากับ 0.979 สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ คือ ความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน การทดสอบค่าที การวิเคราะห์ความแปรปรวนทางเดียว และเปรียบเทียบความแตกต่างของค่าเฉลี่ยรายคู่

ผลการวิจัยพบว่า 1) สุขภาพองค์กรตามความคิดเห็นของบุคลากรในหน่วยงานทางการศึกษากรุงเทพมหานคร ในภาพรวมอยู่ในระดับมาก และ 2) ผลการเปรียบเทียบสุขภาพองค์กรตามความคิดเห็นของบุคลากรในหน่วยงานทางการศึกษากรุงเทพมหานคร จำแนกตามวุฒิการศึกษา ประสบการณ์การทำงาน พบว่า บุคลากรในหน่วยงานทางการศึกษากรุงเทพมหานคร ที่มีประสบการณ์ การทำงานต่างกัน มีความคิดเห็นต่อสุขภาพองค์กรทั้งในภาพรวมและรายด้านแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 นอกนั้นไม่แตกต่างกัน

References

กอปรลาภ อภัยภักดิ์. (2563). บรรยากาศองค์กรแห่งความสุข : คนเบิกบาน งานสำเร็จ. วารสาร มจร. มนุษยศาสตร์ปริทรรศน์ ปีที่ 6 ฉบับที่ 1 (มกราคม – มิถุนายน 2563)

กอบัว ทัศนภักดิ์. (2550). องค์การสุขภาพดี. สารนิพนธ์วิทยาศาสตร์มหาบัณฑิต สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์.

กระทรวงศึกษาธิการ.(2565).ประกาศกระทรวงศึกษาธิการ เรื่องนโยบายและจุดเน้น ของกระทรวงศึกษาธิการ ปีงบประมาณ พ.ศ. 2565.

ณัฐณิการ์ แก้วสุธา. (2564). การบริหารความขัดแย้งของผู้บริหารที่ส่งผลต่อสุขภาพองค์การของโรงเรียน สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาฉะเชิงเทรา เขต 1.วารสารปัญญาภิวัฒน์ ปีที่ 13 ฉบับที่ 2 พฤษภาคม – สิงหาคม 2564

บุญชม ศรีสะอาด. (2553).การวิจัยเบื้องต้น.พิมพ์ครั้งที่ 8. กรุงเทพฯ

พงเทพ โรจน์วิรัตน์. (2562). สุขภาพองค์การขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นในเขตอำเภอธาตุพนม จังหวัดนครพนม.วิทยานิพนธ์ สาขารัฐประศาสนศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฎสกลนคร

ภาวิดา ธาราศรีสุทธิ. (2564). การจัดและการพัฒนาองค์การทางการศึกษา (พิมพ์ครั้งที่ 4). กรุงเทพฯ : บ.มิตรภาพการพิมพ์และสติวดิโอ จำกัด.

มาลินี ตั้งกิจกุลโสภา และคณะ. (2560). การพัฒนาบุคลากร เพื่อประสิทธิภาพในการทำงาน กรณีศึกษา เทศบาลตำบลขุนแก้ว อำเภอนครชัยศรี จังหวัดนครปฐม. มหาวิทยาลัยราชภัฎนครปฐม

ยิ่งยศ เปรมฤดีปรีชาชาญ และศิริวัฒน์ จิระเดชประไพ. (2562). ปัจจัยที่ส่งผลต่อสุขภาพองค์การของสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน สหวิทยาเขตชลบุรี 1.วารสารบัณฑิตวิทยาลัย ปีที่ 10 ฉบับที่ 1 (มกราคม -มิถุนายน 2562).

เลอศักดิ์ ตามา และสุมาลี ศรีพุทธรินทร์. (2564). ภาวะผู้นำยุคดิจิทัลของผู้บริหารสถานศึกษาที่ส่งผลต่อการดำเนินงานระบบประกันคุณภาพการศึกษาของสถานศึกษาสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่ การศึกษามัธยมศึกษา เขต 22. วารสารรัชต์ภาคย์. 15 (38), (224-240).

ศิริพงษ์ เศาภายน. (2558). หลักและกระบวนการบริหารการศึกษา ทฤษฎีและแนวปฏิบัติ (พิมพ์ครั้งที่ 3). กรุงเทพฯ : บ.มิตรภาพการพิมพ์และสติวดิโอ จำกัด.

ศรีสกุล เฉียบแหลม และเพ็ญนภา แดงด้อมยุทธ์. (2562). ภาวะหมดไฟในการทำงาน. บทความวิชาการ วารสารแพทยสารทหารอากาศ ปีที่ 65 ฉบับที่ 2 พฤษภาคม – กันยายน 2562

สุรัสวดี ราชกุลชัย. (2543). การวางแผนและการควบคุมทางการบริหาร (พิมพ์ครั้งที่ 2).กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์จามจุรี.

สำนักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ. (2561).ยุทธศาสตร์ชาติ พ.ศ. 2561 – 2580 ฉบับประกาศราชกิจจานุเบกษา (พิมพ์ครั้งที่ 1).กรุงเทพฯ.

สำนักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ. (2566). แผนแม่บทภายใต้ยุทธศาสตร์ชาติ (พ.ศ. 2566 – 2580) (ฉบับแก้ไขเพิ่มเติม).

สำนักงานศึกษาธิการจังหวัดกรุงเทพมหานคร. (2566) จากอินเตอร์เน็ต https://www.bkkedu.in.th/ [เมื่อวันที่ 20 มกราคม 2566]

สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษากรุงเทพมหานคร เขต 1. (2566) จากอินเตอร์เน็ตhttps://www.sesao1.go.th/ [เมื่อวันที่ 20 มกราคม 2566]

สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษากรุงเทพมหานคร เขต 2. (2566) จากอินเตอร์เน็ตhttps://www.sesao2.go.th/ [เมื่อวันที่ 20 มกราคม 2566]

สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษากรุงเทพมหานคร เขต 2. (2566). รายงานผลการดำเนินงานประจำปี พ.ศ. 2565.กรุงเทพมหานคร.

สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษากรุงเทพมหานคร. (2566). จากอินเตอร์เน็ตhttp://bkkp.go.th/wp/ [เมื่อวันที่ 20 มกราคม 2566]

หยาดอัมรินทร์ ศิริขันธ์. (2562). ความสัมพันธ์ระหว่างสุขภาพองค์การของสถานศึกษากับความทุ่มเทในการปฏิบัติงานขอครู สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 3. วิทยานิพนธ์ สาขาบริหารการศึกษา มหาวิทยาลัยราชภัฎวไลยอลงกรณ์ ในพระบรมราชูปถัมภ์ จังหวัดปทุมธานี.

Cohen, L.,Manion, L, and Morrison, K. (2011). Research Methods in Education. (7th ed). New York: Routledge.

Miles, Matthew B. (1965). Planned change and organizational health-figure and ground. Chapter 2, change processes in the public school. Oregon University

Downloads

เผยแพร่แล้ว

2024-06-28