การพัฒนาวัดเพื่อการท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรม อำเภอบางคนที จังหวัดสมุทรสงคราม
คำสำคัญ:
การพัฒนา, วัด, การท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรมบทคัดย่อ
บทความวิจัยนี้เพื่อศึกษาการพัฒนาเปรียบเทียบความคิดเห็น ปัญหา อุปสรรคและข้อเสนอแนะที่มีต่อการพัฒนาวัดเพื่อการท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรม อำเภอบางคนที จังหวัดสมุทรสงครามเป็นการวิจัยแบบผสานวิธี
ผลการวิจัยพบว่า การพัฒนา ภาพรวม อยู่ในระดับมาก ปัจจัยส่วนบุคคลต่างกัน มีความคิดเห็นไม่แตกต่างกัน จึงปฏิเสธสมมติฐานการวิจัย ปัญหาอุปสรรค คือ บางวัดเปิดโอกาสให้ชุมชนเข้ามีส่วนร่วมโดยยังไม่ครอบคลุมผู้มีส่วนเกี่ยวข้องทุกฝ่าย ดังนั้น ควรส่งเสริมกระบวนการมีส่วนร่วมของผู้มีส่วนเกี่ยวข้องทุกฝ่าย บางวัดขาดแคลนงบประมาณ ดังนั้น ควรสรรหาแหล่งงบประมาณสนับสนุนจากภายนอกเพิ่มเติม บางวัดขาดแคลนวัสดุอุปกรณ์ที่จำเป็นต่อการใช้งาน ดังนั้น ควรจัดหาวัสดุอุปกรณ์ให้สอดคล้องกับความจำเป็นในการใช้งานจริง สถาณการณ์โรคระบาด (โควิด 2019) ดังนั้น ควรให้ความสำคัญกับการจัดทำแผนบริหารความเสี่ยงโดยเฉพาะอย่างยิ่งความเสี่ยงจากสภาวการณ์โรคระบาด
References
ชิษณุชา ปานศิ. (2552). การมีส่วนร่วมของประชาชนเพื่อพัฒนาการท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรม: กรณีศึกษาเขตเทศบาลเมือง จังหวัดเพชรบุรี (วิทยานิพนธ์ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการจัดการโรงแรมและการท่องเที่ยว). พิษณุโลก: มหาวิทยาลัยนเรศวร.
ฐิติพร สะสม. (2553). ศึกษาระบบการบริหารและการจัดการวัดในพระพุทธศาสนา กรณีศึกษา: วัดพระธาตุแช่แห้ง อำเภอภูเพียง จังหวัดน่าน (วิทยานิพนธ์พุทธศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาพระพุทธศาสนา). พระนครศรีอยุธยา: มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย.
ธานินทร์ ศิลป์จารุ. (2551). การวิจัยและวิเคราะห์ข้อมูลทางสถิติ SPSS (พิมพ์ครั้งที่ 9). กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์บิสซิเนสอาร์แอนด์ดี.
นิลรัตน์ กลิ่นจันทร์ และคณะ. (2550). ศึกษาศาสนสถานที่สำคัญต่อการอนุรักษ์การท่องเที่ยวของวัดในกรุงเทพมหานคร (รายงานการวิจัย). พระนครศรีอยุธยา: มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย.
พระครูวิสุทธิสีลาภิวัฒน์ (เมธาภิวัฒน์ ติโก). (2558). รูปแบบการพัฒนาวัดให้เป็นแหล่งท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรม. วารสาร มจร มนุษยศาสตร์ปริทรรศน์, 1(2), 65-73.
พระพชรพร โชติวโร. (2554). ศึกษากระบวนการอนุรักษ์ศิลปวัฒนธรรมท้องถิ่น: กรณีศึกษาวัดร้องเม็ง จังหวัดเชียงใหม่ (วิทยานิพนธ์พุทธศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาพระพุทธศาสนา). พระนครศรีอยุธยา: มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย.
พระมหาธัชธร สิริมงฺคโล. (2557). การจัดการการท่องเที่ยวเชิงพุทธของวัดหนองแวง (พระอารามหลวง) อำเภอเมือง จังหวัดขอนแก่น (วิทยานิพนธ์พุทธศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการจัดการเชิงพุทธ). พระนครศรีอยุธยา: มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย.
พระสมุห์อนุรักษ์ ธีรสกฺโก. (2556). การพัฒนาวัดเพื่อการท่องเที่ยวเชิงพุทธในจังหวัดสมุทรสาคร (วิทยานิพนธ์พุทธศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการจัดการเชิงพุทธ). พระนครศรีอยุธยา: มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย.
อนุรักษ์ ปัญญานุวัตน์. (2542). แผนปฏิบัติพัฒนาการท่องเที่ยว เชียงราย พะเยา แพร่ น่าน. เชียงใหม่: มหาวิทยาลัยเชียงใหม่.
Downloads
เผยแพร่แล้ว
How to Cite
ฉบับ
บท
License
เพื่อให้เป็นไปตามกฎหมายลิขสิทธิ์ ผู้นิพนธ์ทุกท่านต้องลงลายมือชื่อในแบบฟอร์มใบมอบลิขสิทธิ์บทความให้แก่วารสารฯ พร้อมกับบทความต้นฉบับที่ได้แก้ไขครั้งสุดท้าย นอกจากนี้ ผู้นิพนธ์ทุกท่านต้องยืนยันว่าบทความต้นฉบับที่ส่งมาตีพิมพ์นั้น ได้ส่งมาตีพิมพ์เฉพาะในวารสารสหวิทยาการนวัตกรรมปริทรรศน์ เพียงแห่งเดียวเท่านั้น หากมีการใช้ภาพหรือตารางหรือเนื้อหาอื่นๆ ของผู้นิพนธ์อื่นที่ปรากฏในสิ่งตีพิมพ์อื่นมาแล้ว ผู้นิพนธ์ต้องขออนุญาตเจ้าของลิขสิทธิ์ก่อน พร้อมทั้งแสดงหนังสือที่ได้รับการยินยอมต่อบรรณาธิการ ก่อนที่บทความจะได้รับการตีพิมพ์ หากไม่เป็นไปตามข้อกำหนดเบื้องต้น ทางวารสารจะถอดบทความของท่านออกโดยไม่มีข้อยกเว้นใดๆ ทั้งสิ้น