การส่งเสริมวัฒนธรรมท้องถิ่นของพระสงฆ์ ในอำเภอเมืองจังหวัดประจวบคีรีขันธ์

ผู้แต่ง

  • พระครูปราการคีรีรักษ์ (ประเสริฐ สจฺจวโร) มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย
  • พระครูวาทีวรวัฒน์ มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย
  • พระมหากังวาล ธีรธมฺโม มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย

คำสำคัญ:

การส่งเสริม, วัฒนธรรมท้องถิ่น, พระสงฆ์

บทคัดย่อ

บทความวิจัยนี้เพื่อศึกษาศึกษาการส่งเสริมเปรียบเทียบความคิดเห็น ปัญหา อุปสรรคและข้อเสนอแนะเพื่อการส่งเสริมวัฒนธรรมท้องถิ่นของพระสงฆ์ในอำเภอเมือง จังหวัดประจวบคีรีขันธ์ เป็นการวิจัยแบบผสานวิธี

ผลการวิจัยพบว่า การส่งเสริมวัฒนธรรมท้องถิ่นของพระสงฆ์ภาพรวม อยู่ในระดับมากอายุเป็นปัจจัยส่วนบุคคลที่ทำให้เกิดความคิดเห็นที่ต่างกันที่ระดับ 0.05 ปัญหาอุปสรรค คือ ขาดบุคลากร ขาดงบประมาณ และขาดความร่วมมือ ดังนั้น ควรเพิ่มจำนวนบุคลากรของวัดที่มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการอนุรักษ์วัฒนธรรมและมีศักยภาพในการเผยแพร่ ควรประสานกับหน่วยงานราชการและเอกชนเพื่อขอรับงบประมาณสนับสนุนในการอนุรักษ์วัฒนธรรมท้องถิ่นอย่างเป็นรูปธรรม ควรสร้างเครือข่ายการทำงานร่วมกันระหว่างวัดกับวัด และกับหน่วยงานภายนอกเพื่อร่วมมือกันดำเนินงานการอนุรักษ์วัฒนธรรมท้องถิ่นอย่างยั่งยืน

Author Biographies

พระครูปราการคีรีรักษ์ (ประเสริฐ สจฺจวโร), มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย

 

พระมหากังวาล ธีรธมฺโม, มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย

 

References

คณาจารย์มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย. (2551). วัฒนธรรมไทย. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย.

งามนิจ กุลกัน. (2556). การจัดการองค์ความรู้ทางวัฒนธรรมท้องถิ่นของตำบลอ้อมเกร็ด อำเภอปากเกร็ด จังหวัดนนทบุรี (รายงานการวิจัย). ขอนแก่น: มหาวิทยาลัยขอนแก่น.

ชนกพร ไผทสิทธิกุล. (2555). การอนุรักษ์ชุมชนและสภาพแวดล้อมทางวัฒนธรรมท้องถิ่นริมแม่น้ำกก จังหวัดเชียงราย (รายงานการวิจัย). กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยศรีปทุม.

ธานินทร์ ศิลป์จารุ. (2551). การวิจัยและวิเคราะห์ข้อมูลทางสถิติ SPSS (พิมพ์ครั้งที่ 9). กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์บิสซิเนสอาร์แอนด์ดี.

นิยพรรณ วรรณศิริ. (2540). มานุษยวิทยา สังคมและวัฒนธรรม. (กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์.

ผจงจิตต์ อธิคมนันทะ. (2543). สังคมและวัฒนธรรมท้องถิ่นไทย. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์มหาวิทยาลัยรามคำแหง.

พระพชรพร โชติวโร. (2554). ศึกษากระบวนการอนุรักษ์ศิลปวัฒนธรรมท้องถิ่น: กรณีศึกษาวัดร้องเม็ง จังหวัดเชียงใหม่ (วิทยานิพนธ์พุทธศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาพระพุทธศาสนา). พระนครศรีอยุธยา:มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย.

สรรเกียรติ กุลเจริญ. (2558). การเปลี่ยนแปลงของวัฒนธรรมท้องถิ่น: ศึกษากรณีงานประเพณีสงกรานต์พระประแดง อำเภอพระประแดง จังหวัดสมุทรปราการ (วิทยานิพนธ์ปรัชญาดุษฎีบัณฑิตสาขาวิชาไทยศึกษา). ชลบุรี: มหาวิทยาลัยบูรพา.

สุปาจรีย์ คัจฉสุวรรณมณี. (2554). แนวทางการมีส่วนร่วมของประชาชนในการส่งเสริมวัฒนธรรมท้องถิ่น ตำบลเขาทอง อำเภอพยุหะคีรี จังหวัดนครสวรรค์ (วิทยานิพนธ์ศิลปศาสตรมหาบัณฑิตสาขายุทธศาสตร์การพัฒนา). นครสวรรค์: มหาวิทยาลัยราชภัฏนครสวรรค์.

Klausner, W. J. (1997). Reflections on Thai Culture. Bangkok: Amarin Printing Group.

Downloads

เผยแพร่แล้ว

2020-12-30

How to Cite