การบริหารจัดการของศูนย์ศึกษาพระพุทธศาสนาวันอาทิตย์ วัดนอก จังหวัดชลบุรี

ผู้แต่ง

  • ทยิดา ผลสมบูรณ์ ศูนย์ศึกษาพระพุทธศาสนาวันอาทิตย์วัดนอก จังหวัดชลบุรี

คำสำคัญ:

การบริหารจัดการ, การปลูกฝังศรัทธา, พระพุทธศาสนา

บทคัดย่อ

บทความนี้เพื่อศึกษาระดับความคิดเห็นของนักเรียนและ ความสัมพันธ์ ปัญหา อุปสรรคและข้อเสนอแนะเกี่ยวกับการบริหารจัดการแก่นักเรียนของศูนย์ศึกษาพระพุทธศาสนาวันอาทิตย์วัดนอก จังหวัดชลบุรี เป็นงานวิจัยแบบผสานวิธี

                ผลการวิจัยพบว่า นักเรียนมีความคิดเห็นต่อการบริหารจัดการเรียนรู้ของศูนย์ศึกษาพระพุทธศาสนาวันอาทิตย์วัดนอก จังหวัดชลบุรี โดยภาพรวม อยู่ในระดับมาก ปัจจัยด้านการบริหารจัดการเรียนรู้กับความศรัทธาที่มีต่อพระพุทธศาสนาของนักเรียนของศูนย์ศึกษาพระพุทธศาสนาวันอาทิตย์วัดนอก จังหวัดชลบุรีมีความสัมพันธ์กัน ในระดับปานกลาง จึงยอมรับ สมมุตติฐานการวิจัย ปัญหา และอุปสรรค คือ นักเรียนขาดความสนใจในวิชาพระพุทธศาสนา สื่อการสอนยังไม่เพียงพอต่อความต้องการของนักเรียน โรงเรียนควรเพิ่มกิจกรรมส่งเสริมการเรียนรู้ของนักเรียนให้มากขึ้น ควรให้นักเรียนมีส่วนร่วมในกิจกรรมการเรียนการสอน ควรจัดให้มีสื่อการสอนเพิ่มขึ้น

Author Biography

ทยิดา ผลสมบูรณ์, ศูนย์ศึกษาพระพุทธศาสนาวันอาทิตย์วัดนอก จังหวัดชลบุรี

 

References

คูณ โทขันธ์. (2545). พุทธศาสนากับสังคมและวัฒนธรรมไทย. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์โอ. เอส. พริ้นติงเฮาร์.

พระธรรมปิฎก (ป.อ.ปยุตฺโต). (2540). พระพุทธศาสนาพัฒนาคนและสังคม. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์ ส่วนท้องถิ่นกรมการปกครอง.

พระปิยะ ปิยธมฺโม (เมฆแสน). (2553). ความคิดเห็นของนักเรียนที่มีต่อกระบวนการสอนวิชาพระพุทธศาสนาของครูประจำการและครูพระสอนศีลธรรมในโรงเรียนมัธยมศึกษา อำเภอเมืองแพร่ (วิทยานิพนธ์พุทธศาสตรมหาบัณฑิต). พระนครศรีอยุธยา: มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย.

พระมหาวิจิตร กลฺยาณจิตฺโต. (2552). การศึกษาวิเคราะห์วิบากกรรมของพระพุทธเจ้าที่ปรากฏในคัมภีร์พระสุตตันตปิฎก (รายงานวิจัย). พระนครศรีอยุธยา: มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย.

พระมหาสินสมุทร พลขันธ์. (2544). ความเชื่อเรื่องบุญ-บาปในพระพุทธศาสนาของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาตอนปลายในจังหวัดเลย (วิทยานิพนธ์การศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต). มหาสารคาม: มหาวิทยาลัยมหาสารคาม.

ไพเราะ มากเจริญ. (2557). วิเคราะห์แนวอธิบายเรื่องกรรมในพระพุทธศาสนาเถรวาท (วิทยานิพนธ์พุทธศาสตรดุษฎีบัณฑิต). พระนครศรีอยุธยา: มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย.

วราเสฏฐ์ เกษีสังข์. (2559). การบริหารจัดการการวัดและประเมินผลการศึกษาของสถานศึกษาขั้นพื้นฐานในศตวรรษที่ 21 (วิทยานิพนธ์ปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาการบริหารการศึกษา). นครปฐม: มหาวิทยาลัยศิลปากร.

วีณา ประชากูล. (2549). การส่งเสริมความคิดสร้างสรรค์ ปฐมวัยศึกษาด้วยสื่อของเล่น, วารสารวิชาการ, 9(5), 1-10.

สว่าง วงศ์ฟ้าเลื่อน. (2550). การบูรณาการสาระการเรียนรู้พระพุทธศาสนาในหลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2544 (วิทยานิพนธ์พุทธศาสตรมหาบัณฑิต). พระนครศรีอยุธยา: มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย.

สุจินต์ ใจกระจ่าง. (2553). สภาพการจัดการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญของโรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยรามคำแหง (รายงานวิจัย). กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยรามคำแหง.

อรพร คัมภีรศาตร์. (2550). การพัฒนาเกณฑ์การประเมินพระต้นแบบด้านสื่อการเรียนรู้ ระดับการศึกษาขั้นศึกษาขั้นพื้นฐาน (ปริญญาศึกษาศาสตรมหาบัณฑิตทิต). นครปฐม: มหาวิทยาลัยศิลปากร.

Downloads

เผยแพร่แล้ว

2021-06-30

How to Cite