หลักพลธรรมเพื่อส่งเสริมสมรรถนะการปฏิบัติงาน

ผู้แต่ง

  • วรินทร จินดาวงศ์ โรงเรียนบ้านตะเคียนราม

คำสำคัญ:

หลักพลธรรม, สมรรถนะ, การปฏิบัติงาน

บทคัดย่อ

บทความวิชาการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาการบูรณาการหลักพลธรรม 5 เพื่อส่งเสริมสมรรถนะการปฏิบัติงานผ่านการสังเคราะห์เอกสาร ตำรางานวิจัย

ผลการศึกษาพบว่า การบูรณาการหลักพลธรรม 5 เพื่อส่งเสริมสมรรถนะการปฏิบัติงานของบุคลากร ซึ่งถือว่าธรรมอันเป็นกำลังขับเคลื่อนคุณลักษณะเชิงพฤติกรรมแสดงออกทั้งวิธีคิด และพฤติกรรมของการปฏิบัติงานในหน้าที่ที่รับผิดชอบสมรรถนะหลักเป็นคุณลักษณะเฉพาะสำหรับข้าราชการพลเรือนไทยทั้งระบบ เพื่อหล่อหลอมให้เป็นค่านิยมและทัศนคติพี่พึงประสงค์ร่วมกัน หลักพลธรรม 5 ประกอบด้วย 1) ความเชื่อ 2) ความพยายาม 3) ความมุ่งมั่นเอาใจใส่ 4) ความตั้งใจ และ 5) ความรู้ชัด เพื่อส่งเสริมการปฏิบัติงานเพื่อการมุ่งผลสัมฤทธิ์ บริการที่ดี การสั่งสมความชำนาญในงานอาชีพ การยึดมั่นในความถูกตองชอบธรรมและจริยธรรม และการทำงานเป็นทีม ส่งต่อการปฏิบัติงานของบุคลากรที่มีประสิทธิภาพ

References

พระพรหมคุณาภรณ์ (ป. อ. ปยุตโต). (2546). พจนานุกรมพุทธศาสตร์ ฉบับประมวลธรรม (พิมพ์ครั้งที่ 12). กรุงเทพฯ: บริษัท สหธรรมิก จำกัด.

มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย. (2539). พระไตรปิฎกฉบับภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย.

สมเด็จพระมหาสมณเจ้า กรมพระยาวชิรญาณวโรรส. (2540). นวโกวาท. กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์มหามกุฏราชวิทยาลัย.

สำนักงานคณะกรรมการข้าราชการพลเรือน. (2553). คู่มือการกำหนดสมรรถนะในราชการพลเรือน. นนทบุรี: ประชุมช่าง.

สำนักงานปลัดกระทรวงมหาดไทย. (2553). Competency: เครื่องมือในการบริหารแบบมุ่งผลสัมฤทธิ์. สืบค้น 30 สิงหาคม 2565,จาก http://www.stabundamrong.go.th/web/book/53/b19_53.pdf

สำนักงานปลัดกระทรวงศึกษาธิการ. (2563). แผนยุทธศาสตร์การพัฒนาบุคลากร สำนักงานปลัดกระทรวงศึกษาธิการ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2563–2565. กรุงเทพฯ: สำนักอำนวยการ กลุ่มบริหารงานบุคคล.

สำนักงานเลขาธิการคุรุสภา. (2549). ชุดวิชาการจัดการเรียนรู้ โครงการพัฒนาวิชาชีพผู้บริหารการศึกษาและผู้บริหารสถานศึกษาประจำการ. กรุงเทพฯ: สำนักงานพัฒนาและส่งเสริมวิชาชีพ.

Schermerhorn, J.R. et al. (2002). Managing Organization Behavior. USA: John Wiley and Sons.

McClelland, D. C. (1973). Testing for competence rather than intelligence. American Psychologist, 28(1), 1-14

Goodlin, J. S. et al. (2007). Development and evaluation of the “Advanced heart failure clinical competence survey”: A tool to assess knowledge of heart failure care and self-assessed competence. Patient Education and Counseling, 67(3), 3-10.

Downloads

เผยแพร่แล้ว

2023-02-06

How to Cite