การประยุกต์หลักภาวนา 4 เพื่อการบริหารทรัพยากรมนุษย์ ของบริษัทไปรษณีย์ไทย ดิสทริบิวชั่น จำกัด
คำสำคัญ:
การประยุกต์, หลักภาวนา 4, การบริหารทรัพยากรมนุษย์บทคัดย่อ
ทรัพยากรบุคคลถือว่าเป็นหนึ่งในปัจจัยสำคัญ ที่มีส่วนช่วยในการผลักดันให้องค์กรสามารถดำเนินกิจการได้อย่างมีประสิทธิภาพ อีกทั้งยังเป็นกำลังสำคัญในการขับเคลื่อนองค์กรให้ก้าวไปข้างหน้า จึงถือได้ว่าทรัพยากรบุคคลเปรียบดั่งขุมทรัพย์ที่มีค่าต่อองค์กรควรจะต้องธำรงรักษาไว้ หากมองในด้านการบริหารให้องค์กรมีความเติบโตอย่างประมีสิทธิภาพและยั่งยืนขององค์กรยังมีสิ่งสำคัญที่ควรดำเนินงานควบคู่กันไปด้วย อันเป็นสาเหตุสำคัญอย่างหนึ่งที่ทำให้เกิดอาชญากรรมขึ้นในสังคม การนำหลักธรรมพระพุทธศาสนามาบูรณาการปรับใช้เพื่อแก้ปัญหาดังกล่าว หลักภาวนา 4 เป็นหลักธรรมอย่างหนึ่งในพระพุทธศาสนาที่สามารถนำมาแก้ปัญหาในการบริหารบุคลากรในองค์กรได้อย่างเป็นรูปธรรม เพื่อให้ผู้ที่ต้องการพัฒนาคุณภาพชีวิตได้นำหลักภาวนา 4 ไปประยุกต์ใช้กับชีวิตของให้เกิดเป็นประโยชน์สูงสุด
References
จุฑามณี ตระกูลมุทุตา. (2544). การพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ในองค์การ. สงขลา: คณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์.
นวินดา นิลวรรณ และคณะ. (2563). การประยุกต์ใช้หลักภาวนา 4 ตามแนวพระพุทธศาสนาเถรวาทสู่สังคมผู้สูงอาย. วารสารมหาจุฬานาครทรรศน์, (3),38-49.
บริษัท ไปรษณีย์ไทย จำกัด. (2564). นโยบายและยุทธศาสตร์ของ ปณท ปี 2564. สืบค้น 3 กุมภาพันธ์2565 , จาก https://shorturl.asia/arqfE.
_________. (2565). ข้อมูลเกี่ยวกับหน่วยงาน THPD. สืบค้น 7 มกราคม 2565, จาก https://www.thpd.co.th/index.php/th/about-us/about-organization
พยอม วงศ์สารศรี. (2552). การจัดการทรัพยากรมนุษย์. (พิมพ์ครั้งที่ 5). กรุงเทพฯ: มหาวิทยาราชภัฏสวนดุสิต.
พระพรหมคุณาภรณ์ (ป.อ. ปยุตโต). (2560). หลักแม่บทของการพัฒนาตน. (พิมพ์ครั้งที่ 15) กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย.
วิลาวรรณ รพีพิศาล. (2549). การบริหารทรัพยากรมนุษย์. กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์วิจิตรหัตกร.
สำนักงานเลขาธิการสภาการศึกษา. (2547). การพัฒนาองค์กรและบุคลากร: แนวคิดใหม่ในการพัฒนาทรัพยากรบุคคล. กรุงเทพฯ: บริษัท 21 เซ็นจูรี่ จำกัด.
Nadler, L. (1989). Corporate Human Resource Development. New York: Van Nostrand Reinhold Company.
Downloads
เผยแพร่แล้ว
How to Cite
ฉบับ
บท
License
Copyright (c) 2022 วารสารสหวิทยาการนวัตกรรมปริทรรศน์
This work is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International License.
เพื่อให้เป็นไปตามกฎหมายลิขสิทธิ์ ผู้นิพนธ์ทุกท่านต้องลงลายมือชื่อในแบบฟอร์มใบมอบลิขสิทธิ์บทความให้แก่วารสารฯ พร้อมกับบทความต้นฉบับที่ได้แก้ไขครั้งสุดท้าย นอกจากนี้ ผู้นิพนธ์ทุกท่านต้องยืนยันว่าบทความต้นฉบับที่ส่งมาตีพิมพ์นั้น ได้ส่งมาตีพิมพ์เฉพาะในวารสารสหวิทยาการนวัตกรรมปริทรรศน์ เพียงแห่งเดียวเท่านั้น หากมีการใช้ภาพหรือตารางหรือเนื้อหาอื่นๆ ของผู้นิพนธ์อื่นที่ปรากฏในสิ่งตีพิมพ์อื่นมาแล้ว ผู้นิพนธ์ต้องขออนุญาตเจ้าของลิขสิทธิ์ก่อน พร้อมทั้งแสดงหนังสือที่ได้รับการยินยอมต่อบรรณาธิการ ก่อนที่บทความจะได้รับการตีพิมพ์ หากไม่เป็นไปตามข้อกำหนดเบื้องต้น ทางวารสารจะถอดบทความของท่านออกโดยไม่มีข้อยกเว้นใดๆ ทั้งสิ้น