การจัดการแหล่งเรียนรู้ทางพระพุทธศาสนาแนวใหม่โดยใช้ หลักสัปปุริสธรรม
คำสำคัญ:
การจัดการ, แหล่งเรียนรู้ทางพระพุทธศาสนา, หลักสัปปุริสธรรมบทคัดย่อ
ในการจัดการแหล่งเรียนรู้ส่วนใหญ่นั้นเป็นการจัดการแหล่งเรียนรู้หรือเป็นแหล่งแนวคิดเพื่อให้ผู้ที่สนใจได้มีโอกาสศึกษาเรียนรู้ในสถานที่แห่งนั้น หรือเพื่อให้เกิดมุมมองที่ดี เพื่อเป็นการเรียนรู้ทางพระพุทธศาสนารูปแบบการเผยแผ่แนวคิดที่เกี่ยวข้องทางหลักคำสอน แนวคิด หรือวัฒนธรรมที่เกี่ยวข้องในชุมชน ดังนั้นจึงได้นำหลักสัปปุริสธรรมมาประยุกต์ เพื่อให้เกิดความสอดคล้องกับการเปลี่ยนแปลงหรือการวิวัฒนาการทางสังคม รวมทั้งสามารถแก้ปัญหาในรูปแบบที่ชัดเจน การจัดการที่ดีโดยรู้จักเหตุ ทำให้เกิดการค้นหาปัญหาที่เกิดขึ้นอย่างรอบคอบ รวมทั้งผลการจัดการที่นำไปสู่การแก้ปัญหาที่เหมาะสม เพื่อเข้าใจหลักการที่กำลังจะแก้ไขอย่างมีความชัดเจน โดยผ่านตัวตนที่เป็นผู้ขับเคลื่อนให้สามารถผ่านไปตามขั้นตอนที่ได้มีการกำหนดไว้ หรือการรู้จักประมาณการสำหรับในการแก้ปัญหานั้นเพื่อไม่ให้เกิดความยืดเยื้อ โดยจัดให้มีความเหมาะสมมีความพอประมาณที่สามารถจัดการได้ การรู้จักกรอบของระยะเวลาที่มีการแก้ปัญหา การเข้าใจในหลักเวลาอย่างเหมาะสม สิ่งที่ถูกต้อง รัดกุมที่ดี และจำเป็นต้องรู้จักให้ความสำคัญกับผู้ที่อยู่รอบข้างด้วย ซึ่งเป็นชุมชนเพื่อให้เกิดการมีส่วนร่วม โดยให้บุคคลนั้นเป็นหัวใจสำคัญของแหล่งการจัดการเรียนรู้ที่ต้องมีความเข้าใจ เพื่อให้การจัดการแหล่งเรียนรู้นั้นได้ถ่ายทอดไปอย่างมีประสิทธิภาพที่ดี
References
ชนาธิป แก้วบ้านดอน. (2557). ความหมายของแหล่งการเรียนรู้. สืบค้น 25 ธันวาคม 2565, จาก https://www.gotoknow.org/posts/560489.
น้ำทิพย์ วิภาวิน. (2547). การจัดการความรู้กับคลังความรู้. กรุงเทพฯ: เอส.อาร์. พริ้นติ้ง แมสโปรดักส์.
ประมวล เพ็งจันทร์. (2556). สังคมวัฒนธรรมอินเดีย. สืบค้น 25 ธันวาคม 2565, http://www.satit.up.ac.th/BBC07/AroundTheWorld/geo/47.htm.
พระธรรมกิตติวงศ์ (ทองดี สุรเตโช). (2548). พจนานุกรมเพื่อการศึกษาพุทธศาสน์ ชุดคำวัด. กรุงเทพฯ: ธรรมสภา สถาบันบันลือธรรม.
พระธรรมปิฎก (ป.อ.ปยุตฺโต). (2542). เก็บเพชรจากคัมภีร์พระไตรปิฎก. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย.
พระพุทธโฆษาจารย์ (ป.อ. ปยุตฺโต). (2561). พจนานุกรมพุทธศาสน์ ฉบับประมวลศัพท์ (พิมพ์ครั้งที่ 31). กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์บริษัท สหธรรมิก จำกัด.
มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย. (2539). พระไตรปิฎกฉบับภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย.
มาริสา คูบุรัต. (2565). “Metaverse คืออะไร? ส่งผลกระทบอย่างไรกับโลกการตลาด”. คอนเทนต์ชิฟู. สืบค้น 25 ธันวาคม 2565, https://contentshifu.com/blog/what-is-metaVerse#Metaverse.
โยธิน ทรัพย์มั่งมี. (2555). สถานที่ตรัสรู้. สืบค้น 25 ธันวาคม 2565, จาก https://www.Bloggang.com/viewdiary.php?id=yo-sa&month=05-2012&date=12&group=21&gblog=3.
ไลฟ์สไตล์. (2564). “วันวิสาขบูชา ส่อง 3 สังเวชนียสถาน ประสูติ ตรัสรู้ ปรินิพพาน”. กรุงเทพธุรกิจ. สืบค้น 25 ธันวาคม 2564. จาก https://www.bangkokbiznews.com/lifestyle/939889.
วัดป่ามหาชัย. (2558). พุทธกิจ 45 พรรษา. สืบค้น 25 ธันวาคม 2565, จาก http://www.watpamahachai.net/watpamahachai-81.htm.
ศิรินทิพย์ อิสาสะวิน. (2553). “วัดต้องเป็นแหล่งเรียนรู้ของชุมชน”. สำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ. สืบค้น 25 ธันวาคม 2565, จาก https://www.thaihealth.or.th/Content/19247-'วัด'ต้องเป็นแหล่งเรียนรู้ของชุมชน.html
สามารถ มังสัง. (2557). “วัด : แหล่งเรียนรู้อันควรอนุรักษ์”. ผู้จัดการออนไลน์. สืบค้น 25 ธันวาคม 2565, จาก https://mgronline.com/daily/detail/9570000143892
สารานุกรมเสรี. (2563). กุสินารา. สืบค้น 25 ธันวาคม 2565, จาก https://th.wikipedia.org/wiki/กุสินารา.
______. (2563). พระสงฆ์. สืบค้น 25 ธันวาคม 2565, จาก https://th.wikipedia.org/wiki/พระสงฆ์.
_______. (2565). รายชื่อประชากรทางศาสนา. สืบค้น 25 ธันวาคม 2565, จาก https://en.wikipedia.org/wiki/List_of_religious_populations.
_______. (2565). อริยสัจ 4. สืบค้น 25 ธันวาคม 2565, จากhttps://th.wiKipedia.org/wiki/อริยสัจ_4.
สุณีย์ ธีรดากร. (2542). จิตวิทยาการเรียนการสอน. กรุงเทพฯ: สถาบันราชภัฏพระนคร
สำนักงานส่งเสริมพระกัมมัฏฐานสระบุรี. (2554). “สมณทูต 9 สาย สมัยพระเจ้าอโศก ในพระไตรปิฎกกล่าวไว้ว่าอย่างไร”. เว็บบอร์ดสนทนาธรรม. สืบค้น 25 ธันวาคม 2565, จาก http://www.madchima.org/forum/index.php?topic=5977.0.
Downloads
เผยแพร่แล้ว
How to Cite
ฉบับ
บท
License
Copyright (c) 2023 วารสารสหวิทยาการนวัตกรรมปริทรรศน์
This work is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International License.
เพื่อให้เป็นไปตามกฎหมายลิขสิทธิ์ ผู้นิพนธ์ทุกท่านต้องลงลายมือชื่อในแบบฟอร์มใบมอบลิขสิทธิ์บทความให้แก่วารสารฯ พร้อมกับบทความต้นฉบับที่ได้แก้ไขครั้งสุดท้าย นอกจากนี้ ผู้นิพนธ์ทุกท่านต้องยืนยันว่าบทความต้นฉบับที่ส่งมาตีพิมพ์นั้น ได้ส่งมาตีพิมพ์เฉพาะในวารสารสหวิทยาการนวัตกรรมปริทรรศน์ เพียงแห่งเดียวเท่านั้น หากมีการใช้ภาพหรือตารางหรือเนื้อหาอื่นๆ ของผู้นิพนธ์อื่นที่ปรากฏในสิ่งตีพิมพ์อื่นมาแล้ว ผู้นิพนธ์ต้องขออนุญาตเจ้าของลิขสิทธิ์ก่อน พร้อมทั้งแสดงหนังสือที่ได้รับการยินยอมต่อบรรณาธิการ ก่อนที่บทความจะได้รับการตีพิมพ์ หากไม่เป็นไปตามข้อกำหนดเบื้องต้น ทางวารสารจะถอดบทความของท่านออกโดยไม่มีข้อยกเว้นใดๆ ทั้งสิ้น