การสร้างความผูกพันต่อองค์กรโดยการประยุกต์ใช้หลักพุทธธรรม
คำสำคัญ:
การสร้างความผูกพัน, องค์กร, หลักพุทธธรรม, ปัญญา 3บทคัดย่อ
องค์กรเป็นที่รวมของกลุ่มบุคคลที่มีเป้าหมายเดียวกัน ในการก่อตั้งองค์กรต้องใช้บุคคล หรือพนักงานเข้ารวมกันเป็นจำนวนมากเพื่อให้เกิดการขับเคลื่อน และเมื่อทำงานรวมกันเป็นระยะเวลานานทำให้เกิดความผูกพันต่อกัน ทั้งหัวหน้า หรือเพื่อนร่วมงาน แต่ในบางกรณีนั้นเมื่อทำงานร่วมกันนานอาจมีความขัดแย้งในองค์กร โดยเกิดความไม่เข้าใจกัน ก็ยิ่งทำให้พนักงานเกิดความเบื่อหน่ายต่อองค์กรมากขึ้น ดังนั้นผู้เขียนได้นำหลักพุทธธรรม “ปัญญา 3” มาประยุกต์เพื่อให้เข้ากับการสร้างความผูกพันต่อองค์กร โดยเริ่มที่หลักการคิด (จินตมยปัญญา) คือ การคิดเพื่อการพัฒนาองค์กร เรียกว่า “ผูกพันด้วยหลักคิด” ต่อมาคือ การฟัง (สุตมยปัญญา) เป็นการรับฟังเสียงของบุคคลในองค์กร เพื่อให้องค์กรก้าวไปข้างหน้าได้ เรียกว่า “สร้างมิตรด้วยการรับฟัง” และสุดท้ายคือ การลงมือปฏิบัติ (ภาวนามยปัญญา) ต้องมีการเปิดโอกาสให้พนักงานภายในองค์กรได้ร่วมกันลงมือปฏิบัติ เรียกว่า “รวมพลังเพื่อพัฒนาองค์กร” ทั้ง 3 อย่างนี้เป็นการประยุกต์ใช้หลักปัญญาอย่างแท้จริง เพราะการที่จะสร้างความผูกพัน ต้องมีทั้งการคิด การรับฟัง การได้ให้โอกาสลงมือ ต่อบุคลากรได้อย่างเท่าเทียมทำให้เกิดความผูกพันที่ดีขึ้นด้วย
References
กาญจนา ต้นโพธิ์. (2563). ศิลปะการฟัง เพื่อพัฒนาคุณภาพชีวิต. สืบค้น 10 พฤษภาคม 2565, จาก https://library.parliament.go.th/index.php/th/digest/digest-2564-jun82
จ๊อบดีบี. (2557). 10 ขั้นตอนสร้างความผูกพันองค์กร. สืบค้น 10 พฤษภาคม 2565, จากhttps://th.jobsdb.com/th-th/articles/สร้างความผูกพันองค์กร-2
จันจิรา สาระ. (2555). กระบวนการคิด (Thinking). สืบค้น 10 พฤษภาคม 2565, จากhttp://junjira123.blogspot.com/2012/11/blog-post.html
ไชยา ทับวิธร. (2562). การจัดการเรียนการสอนโดยการลงมือปฏิบัติ (Active learning). สืบค้น 10 พฤษภาคม 2565, จากhttps://sites.google.com/site/chaiyathab2020/phl-ngan
ณัฐพัชญ์ วงษ์เหรียญทอง. (2564). 5 ทักษะการคิดสำคัญ ที่ควรพัฒนาให้พนักงานเสียแต่วันนี้. สืบค้น 10 พฤษภาคม 2565, จาก https://dots.academy/2021/02/01/5-key-thinking-skills/
ธารทิพย์ แก้วเหลี่ยม. (2555). ความหมายของการคิด. สืบค้น 10 พฤษภาคม 2565, จากhttps://www.gotoknow.org/posts/233001
โนวาบิซ. (2559). ความหมายการคิด ประเภทของการคิด กระบวนการของการคิด. สืบค้น 10 พฤษภาคม 2565, จาก https://www.novabizz.com/NovaAce/Intelligence/Thinking_is.htm
บ้านจอมยุทธ. (2543). ขนบธรรมเนียม ประเพณี วัฒนธรรม อารยธรรม (มารยาทการฟัง). สืบค้น 10 พฤษภาคม 2565, จากhttps://www.baanjomyut.com/library_6/etiquette_in_listening/index.html
ประคัลภ์ ปัณฑพลังกูร. (2562). ทักษะการฟัง ทักษะที่หัวหน้าส่วนใหญ่ยังต้องพัฒนา. สืบค้น 10 พฤษภาคม 2565, จาก https://prakal.com/2019/11/06/ทักษะการฟัง-ทักษะที่หัว
ประไพศรี ธรรมวิริยะวงศ์. (2562). แนวทางการพัฒนาความผูกพันของพนักงานในองค์กร. วารสารวิทยาลัยดุสิตธานี, 13(2), 493-504.
ปสุตา แฝงสาเคน. (2561). Active learning การเรียนรู้แบบลงมือทำ (ปฏิบัติ). สืบค้น 10 พฤษภาคม 2565, จาก https://sites.google.com/site/kroopsuta/1/editingroom/activelearningkarreiynrubaeblngmuxthaptibati
โปรซอฟท์. (2563). วิธีง่าย ๆ ที่ทำให้พนักงานเกิดความผูกพันกับการทำงานในองค์กร. สืบค้น 10 พฤษภาคม 2565, จาก https://www.prosofthrmi.com/Article/Detail/106036
พระพรหมคุณาภรณ์ (ป.อ. ปยุตฺโต). (2559). พจนานุกรมพุทธศาสตร์ ฉบับประมวลธรรม (พิมพ์ครั้งที่ 34). กรุงเทพฯ: มูลนิธิศึกษาเพื่อสันติภาพ.
พัฒนกิจ. (2562). “ทักษะการฟัง” ทักษะสำคัญในชีวิตการทำงาน. สืบค้น 10 พฤษภาคม 2565, จากhttps://www.pattanakit.net/index.php?lay=show&ac=article&Id=538686286&Ntype=128
มหาวิทยาลัยราชภัฏพิบูลสงคราม. (2550). กระบวนการคิด. สืบค้น 10 พฤษภาคม 2565, จาก http://elearning.psru.ac.th/courses/240/elearning%201.pdf
วรพล วรพันธ์. (2561). แนวทางการสร้างองค์กรแห่งการเรียนรู้. สืบค้น 10 พฤษภาคม 2565, จาก http://www.dsdw2016.dsdw.go.th/doc_pr/ndc_2560-2561/PDF/m8504/8504แนวทางการสร้างองค์กรแห่งการเรียนรู้.pdf
วอยซ์ทีวี. (2558). สร้างความผูกพันระหว่างพนักงานกับองค์กรให้ พนง.อยู่ยืนยาว. สืบค้น 10 พฤษภาคม 2565, จาก https://www.voicetv.co.th/read/294246
สารานุกรมเสรี. (2564). องค์กร. สืบค้น 10 พฤษภาคม 2565, จากhttps://th.wikipedia.org/wiki/องค์กร
______. (2565). โยนิโสมนสิการ. สืบค้น 10 พฤษภาคม 2565, จาก https://th.wikipedia.org/wiki/โยนิโสมนสิการ
สุนีติ์ ภู่จิรฐาพันธุ์. (2561). ภาษาไทยเพื่อการสื่อสาร (การฟัง). สืบค้น 10 พฤษภาคม 2565, จาก https://sites.google.com/site/phasathiypheuxkarsuxsar73/bth-thi-3-kar-fang
เอกราช จันทรประดิษฐ์. (2564). การเรียนรู้จากการปฏิบัติ (Action learning). สืบค้น 10 พฤษภาคม 2565, จากhttps://www2.si.mahidol.ac.th
/km/knowledgeassets/kmexperience/kmarticle/17386/
HR NOTE.Asia. (2562). การมีส่วนร่วมและผูกพันของบุคลากร (Employee Engagement) มีความสำคัญอย่างไรกับองค์กร. สืบค้น 10 พฤษภาคม 2565, จาก https://th.hrnote.asia/personnel-management/190722-employee-engagement/
Teachmebiz. (2563). 7 เทคนิคสำหรับการเพิ่มประสิทธิภาพในการทำงาน. สืบค้น 10 พฤษภาคม 2565, จาก https://teachme-biz.com/blog/seisansei-7ways/
Downloads
เผยแพร่แล้ว
How to Cite
ฉบับ
บท
License
Copyright (c) 2023 วารสารสหวิทยาการนวัตกรรมปริทรรศน์
This work is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International License.
เพื่อให้เป็นไปตามกฎหมายลิขสิทธิ์ ผู้นิพนธ์ทุกท่านต้องลงลายมือชื่อในแบบฟอร์มใบมอบลิขสิทธิ์บทความให้แก่วารสารฯ พร้อมกับบทความต้นฉบับที่ได้แก้ไขครั้งสุดท้าย นอกจากนี้ ผู้นิพนธ์ทุกท่านต้องยืนยันว่าบทความต้นฉบับที่ส่งมาตีพิมพ์นั้น ได้ส่งมาตีพิมพ์เฉพาะในวารสารสหวิทยาการนวัตกรรมปริทรรศน์ เพียงแห่งเดียวเท่านั้น หากมีการใช้ภาพหรือตารางหรือเนื้อหาอื่นๆ ของผู้นิพนธ์อื่นที่ปรากฏในสิ่งตีพิมพ์อื่นมาแล้ว ผู้นิพนธ์ต้องขออนุญาตเจ้าของลิขสิทธิ์ก่อน พร้อมทั้งแสดงหนังสือที่ได้รับการยินยอมต่อบรรณาธิการ ก่อนที่บทความจะได้รับการตีพิมพ์ หากไม่เป็นไปตามข้อกำหนดเบื้องต้น ทางวารสารจะถอดบทความของท่านออกโดยไม่มีข้อยกเว้นใดๆ ทั้งสิ้น