แนวทางดูแลผู้สูงวัยให้ห่างไกลจากความเหงา

ผู้แต่ง

  • พระครูปลัดธวัชชัย ธวชฺชยเมธี (มั่งมีเพชร) วัดโพธิ์ทอง จังหวัดพิษณุโลก

คำสำคัญ:

ผู้สูงวัย, ความเหงา, แนวทางดูแลผู้สูงวัย

บทคัดย่อ

สังคมไทยนับได้ว่าเป็นสังคมผู้สูงอายุอย่างสมบูรณ์แล้ว เนื่องจากมีผู้สูงอายุมากกว่าร้อยละ 10 ตามเกณฑ์ขององค์การสหประชาชาติ และนอกจากประชากรผู้สูงอายุจะมีจำนวนเพิ่มมากขึ้นแล้ว ยังมีแนวโน้มอายุยืนยาวขึ้นเช่นกัน ในขณะเดียวกันปัญหาที่มาคู่ขนานกับความเป็นผู้สูงวัยนั้นคือความเหงา อันส่งผลกระทบต่อสุขภาวะของผู้สูงวัยแบบองค์รวม และอาจนำไปสู่การเกิดภาวะซึมเศร้าและพฤติกรรมของผู้สูงวัยที่เปลี่ยนไป ดังนั้น บทความเรื่องนี้จึงมีวัตถุประสงค์เพื่อนำเสนอการจัดการความเหงาในผู้สูงวัยโดยมีแนวทาง ได้แก่ 1) การหาเพื่อนร่วมกลุ่ม (Peer counseling) จะได้ไม่มีปัญหาขาดเพื่อน หรือขาดกลุ่มเมื่อยามสูงวัย 2) สร้างทางเลือกให้แก่ชีวิตในแง่มุมต่าง ๆ หลายทางเลือก 3) ทำงานอดิเรกที่ตนพอใจ 4) สร้างกลุ่มเพื่อนทางสังคม 5) ไม่ตัดขาดตัวเองจากโลกภายนอก 6) เล่นเกมแก้เหงาและช่วยบริหารสมอง และ 7) รักษาสุขภาพจิตสดใจสุขภาพกายแข็งแรง

References

กรมกิจการผู้สูงอายุ. (2565). สถิติผู้สูงอายุของประเทศไทย 77 จังหวัด ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2564. สืบค้น 20 เมษายน 2565, จาก https://shorturl.asia/9qCli.

กรมสุขภาพจิต. (2564). ข่าวจากหนังสือพิมพ์ที่เกี่ยวข้องกับสุขภาพจิต. สืบค้น 20 เมษายน 2565, จาก https://www.dmh.go.th/news-dmh/view.asp?id=27806

________. (2565). ถอดรหัสความเหงา! เมื่อสังคมไทยกำลังเต็มไปด้วยคนรู้สึกโดดเดี่ยว. สืบค้น 20 เมษายน 2565, จาก https://shorturl.asia/J6Umr

นิลุบล สุขวณิช. (2564). ความเหงาคืออะไรและทำไมเราต้องรู้สึกเหงา? นักจิตวิทยามีคำตอบ. สืบค้น 20 เมษายน 2565, จาก https://www.istrong.co/single-post/what-is-loneliness-and-whydo-weneed-to-feel-lonely

วัลลภา โคสิตานนท์. (2542). ผลของการปรึกษาเชิงจิตวิทยาแบบกลุ่มตามแนวพิจารณาเหตุผล อารมณ์และพฤติกรรมต่อการลดความว้าเหว่ในผู้สูงอายุ (วิทยานิพนธ์ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาจิตวิทยาการปรึกษา). กรุงเทพฯ: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

ลัญชนา พิมพันธ์ชัยยบูลย์. (2558). ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อความวา้เหว่ของผู้สูงอายุในศูนย์พัฒนาการจัดสวัสดิการสังคมผู้สูงอายุ (วิทยานิพนธ์พยาบาลศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการพยาบาลผู้สูงอายุ). ชลบุรี: มหาวิทยาลัยบูรพา.

ศรีเรือน แก้วกังวาล. (2545). จิตวิทยาพัฒนาการชีวิตทุกช่วงวัย (พิมพ์ครั้งที่ 8). กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.

Brunner, L. & Suddart, D. (1984). Textbook of Medical-Surgical Nursing. Philadephia: J.B.Lippincott.

Segrin, C. et al. (2012). Loneliness and poor health within families. Journal of Social and Personal Relationships. 29(5). 597–611.

Christ, M.A. & Hohloch, F.J. (1988). Gerontologic nursing. Pensiylvania: Springhourse.

Holt-L. J, et al. (2010). Social relationships and mortality risk: A meta-analytic review. PLoS Med, 7(7), e1000316

Mahon. N.E. & Yacheski. (1990). The dimensionality of the UCLA loneliness scale in elderly. Research In Nursing & Health 13

Newall NEG. Chipperfield JG. Bailis DS. Predicting stability and change in loneliness in later life. JSPR 2013;31(3):335-51

Peplau, L.A. & Perman. D. (1982). “Loneliness” A sourcebook of cent theory. research and therapy. USA: Wiley-Intercedence Publication.

Rodgers, B.L. (1989). Loneliness. Journal of Gerontological Nursing 15(8)

Ryan, M.C. & Patterson. J. (1987). Loneliness in the elderly. Journal of gerontological nursing. 13(5).7-11.

Shultz, C. (1988). Mental health psychiatric nursing: A holistic life-cycle approach. St. Louis: C.V. mosby.

Shultz. C. et al. (1988). Loneliness: Menthol health psychiatric nursing: A holistic life cycle approach. St.Louis: C.V.Mosby.

Smith JM. (2012). Toward a better understanding of loneliness in community-dwelling older adults. Psychol, 146(3), 293-311.

Steptoe A, et al. (2013). Social isolation loneliness and all cause mortality in older men and women. Proceedings of the National Academy of Sciences of the United States of America, 110(15), 5797-5801.

Theeke LA. (2009). Predictors of loneliness in U.S. adults over age sixty-five. Arch Psychiatr Nurs, 23(5), 387-396.

Downloads

เผยแพร่แล้ว

2022-12-03

How to Cite